กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ


“ โครงการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ”

ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทุ่งพอ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 L5256 2 02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 30 เมษายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61 L5256 2 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๕๗ ข้อมูลประชากรของประเทศไทย มีจำนวน ๖๔.๕ ล้านคน ผู้ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มีจำนวน ๙.๔ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๕๗ ของประชากรรวม ตามนิยามขององค์การสหประชาชาติถือว่า ประเทศไทยถือว่าประเทศไทย เข้าสูสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในขณะที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคม มีการเปลี่ยนแปลงจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ผู้สูงอายุบางครอบครัวขาดการดูแลเอาใจใส่จากบุตรหลานหากผู้สูงอายุไม่สามารถปรับตัวให้รับการเปลี่ยนแปลงได้ทัน นอกจากต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพทางกายที่เกิดตามวัยแล้ว ผู้สูงอายุบางรายอาจต้องเผชิญกับปัญหาด้านจิตใจด้วย ข้อมูลผู้สูงอายุ ณ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ พบว่า มีประชากรที่อายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๕๘๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘ ของประชากรทั้งหมด และมีแนวโน้มว่าจำนวนผู้สูงอายุจะมีสัดส่วนมากขึ้น อันจะนำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพโดย เฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เนื่องจากวัยสูงอายุมีธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงทั้งทางด้านร่างกายจิตใจและสังคม ทั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีสถิติการเกิดโรคมากกว่าวัยอื่นๆ ถึง ๔ เท่า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน ๖๕ ปี ประมาณ ๔ ใน ๕ คน จะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย ๑โรค ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุที่สำคัญ คือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิดหรือไม่มีลูกหลานดูแล รวมทั้งการขาดรายได้การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเตรียมการในการดูแลผู้สูงอายุ ในด้านการส่งเสริมบทบาททางสังคมและการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเยาวชน ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ได้ออกมาพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต มีขวัญและกำลังใจสร้างความผูกพันระหว่างคนในชุมชน ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีรับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับช่วงวัย และเกิดนวัตกรรมเพื่อผู้สูงอายุ ผู้พิการ อันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความเข้าใจในการสร้างเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 46
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๗.๑ เกิดนวัตกรรมจำนวน 8 ชิ้น ที่สามารถนำไปใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพ ๗.๒ .สามารถลดค่าใช้จ่ายของผู้ป่วย สามารถผลิตนวัตกรรมเพื่อไปใช้ครบทุกรายต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 46
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61 L5256 2 02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทุ่งพอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด