กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายพิชญะกฤษฏิ์ พัฒนสิงห์




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

ที่อยู่ ทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2568-1012 เลขที่ข้อตกลง 019/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง แก่ผู้ต้องขังอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) 2. เพื่อสร้างความครอบคลุมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรอง (3) 3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และได้รับการส่งต่อรักษาตามสิทธิ (4) 4. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ (5) 5. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามซ้ำ ไม่น้อยว่าร้อยละ 90

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขัง (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขัง โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และ อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) ออกตรวจหาน้ำตาล ในเลือดและวัดความดันโลหิตในผู้ต้องขังกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. หลักการและเหตุผล
    NCDs หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ-หลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุความพิการและสาเหตุการเสียชีวิตซึ่งอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 75 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดครึ่งหนึ่งเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง คนไทยมากกว่า 14 ล้านคน กำลังเผชิญกับโรค NCDs และมากกว่า 4.8 ล้านคนเป็นโรคเบาหวาน อีกทั้งมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเป็น 5.3 ล้านคนในปี 2586 ดังนั้น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่ต้องรักษาต่อเนื่องและยาวนาน อีกทั้งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ซึ่งมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูง กลุ่มโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ยิ่งคัดกรองมากขึ้นก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยมากขึ้น ดังนั้น แนวทางแก้ไขต้องดำเนินการให้เป็นระบบเริ่มตั้งแต่คัดกรอง จากนั้นนำมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง ป่วย ในกลุ่มป่วยต้องดำเนินการให้รักษา มีการดูแลต่อเนื่อง ในกลุ่มเสี่ยงต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ส่วนในกลุ่มดีมีการให้ความรู้เพิ่มเติมเพื่อสร้างความตระหนัก กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs สามารถป้องกันได้ เพราะสาเหตุหลักๆเกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การสูบบุหรี่การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารรสจัด หวาน มัน เค็มเป็นประจำ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจะช่วยลดโอกาสการเป็นโรคได้ร้อยละ 80 ดังนั้น เพื่อให้ผู้ต้องขังในทัณฑสถานเปิดบ้านนาวงมีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สถานพยาบาลทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง จึงจัดทำโครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยง ให้เป็นไปตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความตระหนักในการ ดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม

2.สถานการณ์ปัญหา
สถิติผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีจำนวนสูงมากขึ้นทุกปี ซึ่งจัดเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่สำคัญ หากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ นำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งนำไปสู่การสิ้นเปลืองด้านทรัพยากร งบประมาณ อุปกรณ์ ตลอดจนเวชภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาและการจัดการกับภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จากการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในผู้ต้องขัง ข้อมูลจากสถานพยาบาลทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง พบว่าปีงบประมาณ 2567 มีผู้ต้องขังมาคัดกรองเบาหวานจำนวน 67 ราย และคิดเป็นกลุ่มปกติ 54 ราย คิดเป็นร้อยละ 79.41 กลุ่มเสี่ยง 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.71 และไม่พบกลุ่มป่วย คัดกรองความดันโลหิตสูงจำนวน 67 ราย และคิดเป็นกลุ่มปกติ 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.63 กลุ่มเสี่ยง 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.40 กลุ่มสงสัยป่วย 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.97 และไม่พบกลุ่มป่วย ในการนี้ทางสถานพยาบาลทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง เล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้ จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง แก่ผู้ต้องขังอายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. 2. เพื่อสร้างความครอบคลุมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรอง
  3. 3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และได้รับการส่งต่อรักษาตามสิทธิ
  4. 4. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ
  5. 5. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามซ้ำ ไม่น้อยว่าร้อยละ 90

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขัง
  2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขัง โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และ อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) ออกตรวจหาน้ำตาล ในเลือดและวัดความดันโลหิตในผู้ต้องขังกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 95 ของผู้ต้องขังอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2.ร้อยละ 80 ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3.ร้อยละ 100 ของผู้ต้องขังกลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อรักษาตามสิทธิ
4.ร้อยละ 90 ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ
5.ร้อยยละ 90 ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามซ้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง แก่ผู้ต้องขังอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองไม้น้อยกว่าร้อยละ 95
1.00 1.00

 

2 2. เพื่อสร้างความครอบคลุมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.00 1.00

 

3 3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และได้รับการส่งต่อรักษาตามสิทธิ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่และได้รับการส่งต่อรักษาตามสิทธิ ร้อยละ 100
1.00 1.00

 

4 4. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ
ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
1.00 1.00

 

5 5. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามซ้ำ ไม่น้อยว่าร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามซ้ำ ไม่น้อยว่าร้อยละ 90
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 63
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70 63
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง แก่ผู้ต้องขังอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) 2. เพื่อสร้างความครอบคลุมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรอง (3) 3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และได้รับการส่งต่อรักษาตามสิทธิ (4) 4. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ (5) 5. ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามซ้ำ ไม่น้อยว่าร้อยละ 90

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขัง (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขัง โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และ อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) ออกตรวจหาน้ำตาล ในเลือดและวัดความดันโลหิตในผู้ต้องขังกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2568-1012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิชญะกฤษฏิ์ พัฒนสิงห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด