โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวาศิล ใบสะเม๊าะ ตำแหน่ง ครุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-15 เลขที่ข้อตกลง 24/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำยังคงเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก จากข้อมูลองค์การอนามัยโลกพบว่าแต่ละปีทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำประมาณ 236,000 คน โดย 1 ใน 4 เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งในกลุ่มเด็กอายุ 5 - 15 ปี พบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ส่วนประเทศไทย ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ระหว่างปี 2556 - 2565 มีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ 36,403 คน เฉลี่ยปีละ 3,640 คน หรือวันละกว่า 10 คน ในจำนวนนี้ เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 6,992 คน สาเหตุหนึ่งที่พบได้บ่อยคือ ขาดทักษะการเอาชีวิตรอดและการช่วยเหลือคนตกน้ำและจมน้ำที่ถูกต้อง และสืบเนื่องมาจากปัญหาเด็กว่ายน้ำไม่เป็นและไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองและผู้อื่นได้ ส่วนใหญ่เด็กจมน้ำเสียชีวิตมักจะเกิดเหตุในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนของทุกปี เพราะในพื้นที่ชนบทมักจะมีแหล่งน้ำมากมาย ทั้งที่เป็นแหล่งน้ำจากธรรมชาติและแหล่งน้ำที่ขุดขึ้นใหม่ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาภัยแล้ง จึงต้องมีแหล่งน้ำเพื่อกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในหน้าแล้ง แต่อากาศร้อนจัดทำให้เด็กๆ ในชนบทมักจะอาศัยแหล่งน้ำต่าง ๆ เป็นที่คลายร้อน และเป็นที่เล่นสนุกสนานกัน จึงเป็นจุดเสี่ยงที่จะเกิดเหตุการณ์เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และในพื้นที่ของตำบลบ้านควนส่วนใหญ่จะเป็นลำคลองที่เป็นแหล่งน้ำจากธรรมชาติและเป็นแหล่งน้ำลำคลองที่ขุดลอกขึ้นใหม่เพื่อใช้เป็นประโยชน์แก่ชุมชน และในพื้นที่ของจังหวัดสตูลรวมทั้งพื้นที่ในตำบลบ้านควนก็เคยมีเหตุการณ์ที่เด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ ทางโรงเรียนบ้านกาเนะได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญกับปัญหาและเหตุการณ์ดังกล่าว และพื้นที่ในชุมชนของโรงเรียนบ้านกาเนะเมื่อสำรวจไปรอบ ๆ โดยรวมจะเห็นว่า พื้นที่และเส้นทางในชุมชนส่วนใหญ่จะเป็นเส้นทางที่ติดกับลำคลองชลประทาน ทางโรงเรียนบ้านกาเนะจึงได้จัดโครงการ “ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย” ขึ้นเพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะมีทักษะการว่ายน้ำที่สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้เมื่อเกิดเหตุสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยกิจกรรมที่ 1. จะจัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 49 คน (โดยจะแบ่งเป็นนักเรียนผู้ชายจำนวน 23 คน และนักเรียนผู้หญิงจำนวน 26 คน) ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ และกิจกรรมที่ 2. นำนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 49 คน (โดยจะแบ่งเป็นนักเรียนผู้ชายจำนวน 23 คน และนักเรียนผู้หญิงจำนวน 26 คน ไปฝึกกิจกรรมทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ 2 วัน วันละ 1 ชุด) (คัดคนที่มีภาวะเสี่ยงที่ชอบลงเล่นน้ำ ตกปลา และบ้านอยู่ริมลำคลอง) ไปฝึกปฏิบัติทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ เพื่อสร้างความปลอดภัยทางน้ำแก่นักเรียน รู้จักและสามารถเอาชีวิตรอดอีกทั้งยังสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้
- เพื่อให้นักเรียนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้
- เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่อง ทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ
- ฝึกทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำและการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
49
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกคนสามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกคนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้
50.00
90.00
2
เพื่อให้นักเรียนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ สามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้
40.00
90.00
3
เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ
50.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
49
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
49
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้ (2) เพื่อให้นักเรียนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้ (3) เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง ทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ (2) ฝึกทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำและการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวาศิล ใบสะเม๊าะ ตำแหน่ง ครุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวาศิล ใบสะเม๊าะ ตำแหน่ง ครุ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-15 เลขที่ข้อตกลง 24/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำยังคงเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก จากข้อมูลองค์การอนามัยโลกพบว่าแต่ละปีทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำประมาณ 236,000 คน โดย 1 ใน 4 เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งในกลุ่มเด็กอายุ 5 - 15 ปี พบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ส่วนประเทศไทย ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ระหว่างปี 2556 - 2565 มีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ 36,403 คน เฉลี่ยปีละ 3,640 คน หรือวันละกว่า 10 คน ในจำนวนนี้ เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 6,992 คน สาเหตุหนึ่งที่พบได้บ่อยคือ ขาดทักษะการเอาชีวิตรอดและการช่วยเหลือคนตกน้ำและจมน้ำที่ถูกต้อง และสืบเนื่องมาจากปัญหาเด็กว่ายน้ำไม่เป็นและไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองและผู้อื่นได้ ส่วนใหญ่เด็กจมน้ำเสียชีวิตมักจะเกิดเหตุในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนของทุกปี เพราะในพื้นที่ชนบทมักจะมีแหล่งน้ำมากมาย ทั้งที่เป็นแหล่งน้ำจากธรรมชาติและแหล่งน้ำที่ขุดขึ้นใหม่ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาภัยแล้ง จึงต้องมีแหล่งน้ำเพื่อกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในหน้าแล้ง แต่อากาศร้อนจัดทำให้เด็กๆ ในชนบทมักจะอาศัยแหล่งน้ำต่าง ๆ เป็นที่คลายร้อน และเป็นที่เล่นสนุกสนานกัน จึงเป็นจุดเสี่ยงที่จะเกิดเหตุการณ์เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และในพื้นที่ของตำบลบ้านควนส่วนใหญ่จะเป็นลำคลองที่เป็นแหล่งน้ำจากธรรมชาติและเป็นแหล่งน้ำลำคลองที่ขุดลอกขึ้นใหม่เพื่อใช้เป็นประโยชน์แก่ชุมชน และในพื้นที่ของจังหวัดสตูลรวมทั้งพื้นที่ในตำบลบ้านควนก็เคยมีเหตุการณ์ที่เด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ ทางโรงเรียนบ้านกาเนะได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญกับปัญหาและเหตุการณ์ดังกล่าว และพื้นที่ในชุมชนของโรงเรียนบ้านกาเนะเมื่อสำรวจไปรอบ ๆ โดยรวมจะเห็นว่า พื้นที่และเส้นทางในชุมชนส่วนใหญ่จะเป็นเส้นทางที่ติดกับลำคลองชลประทาน ทางโรงเรียนบ้านกาเนะจึงได้จัดโครงการ “ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย” ขึ้นเพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะมีทักษะการว่ายน้ำที่สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้เมื่อเกิดเหตุสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยกิจกรรมที่ 1. จะจัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 49 คน (โดยจะแบ่งเป็นนักเรียนผู้ชายจำนวน 23 คน และนักเรียนผู้หญิงจำนวน 26 คน) ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ และกิจกรรมที่ 2. นำนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 49 คน (โดยจะแบ่งเป็นนักเรียนผู้ชายจำนวน 23 คน และนักเรียนผู้หญิงจำนวน 26 คน ไปฝึกกิจกรรมทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ 2 วัน วันละ 1 ชุด) (คัดคนที่มีภาวะเสี่ยงที่ชอบลงเล่นน้ำ ตกปลา และบ้านอยู่ริมลำคลอง) ไปฝึกปฏิบัติทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ เพื่อสร้างความปลอดภัยทางน้ำแก่นักเรียน รู้จักและสามารถเอาชีวิตรอดอีกทั้งยังสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้
- เพื่อให้นักเรียนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้
- เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่อง ทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ
- ฝึกทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำและการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 49 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกคนสามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกคนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้ |
50.00 | 90.00 |
|
|
2 | เพื่อให้นักเรียนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ สามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้ |
40.00 | 90.00 |
|
|
3 | เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ |
50.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 49 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 49 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ สามารถว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้ (2) เพื่อให้นักเรียนสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉินจากการจมน้ำได้ (3) เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง ทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำ (2) ฝึกทักษะพื้นฐานของการว่ายน้ำและการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย" ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวาศิล ใบสะเม๊าะ ตำแหน่ง ครุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......