โครงการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) ต.บ้านนา อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) ต.บ้านนา อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 |
รหัสโครงการ | L3363-2568-2004 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักธรรมนูญตำบลบ้านนา |
วันที่อนุมัติ | 17 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 11 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 24,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายไพโรจน์ ราชเทพ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาวอรวรรณ จันทรธนู |
พื้นที่ดำเนินการ | พื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) ร่วมกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน | 40.00 | ||
2 | ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า | 50.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.) มีการสมัครเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก อย่างน้อย 1 อถล. 1ครัวเรือน |
40.00 | 60.00 |
2 | เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เป็นแบบอย่างในการจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอย และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำนึกการปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม |
40.00 | 60.00 |
3 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ มีการใช้วัสดุอย่างคุ่มค่าก่อนทิ้ง เพิ่มขึ้น |
50.00 | 70.00 |
4 | จัดตั้งธนาคารขยะ เกิดธนาคารขยะ และดำเนินการต่อเนื่อง จำนวน 1 แห่ง |
40.00 | 50.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ย. 67 | ธ.ค. 67 | ม.ค. 68 | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 | ต.ค. 68 | พ.ย. 68 | ธ.ค. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะในชุมชน(12 ก.พ. 2568-12 ก.พ. 2568) | 2,820.00 | ||||||||||||||
2 | ส่งเสริมการจัดการขยะโดยชุมชน(17 ก.พ. 2568-17 ก.พ. 2568) | 17,650.00 | ||||||||||||||
3 | หมู่บ้านต้นแบบ ปลอดขยะ ปลอดโรค(1 มี.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 2,280.00 | ||||||||||||||
4 | ติดตามและประเมินผลโครงการ(25 มิ.ย. 2568-25 ก.ย. 2568) | 1,750.00 | ||||||||||||||
รวม | 24,500.00 |
1 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะในชุมชน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 300 | 2,820.00 | 0 | 0.00 | |
12 ก.พ. 68 - 12 ธ.ค. 68 | กิจกรรมที่ 1 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะในชุมชน | 300 | 2,820.00 | - | ||
2 ส่งเสริมการจัดการขยะโดยชุมชน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 25 | 17,650.00 | 0 | 0.00 | |
17 ก.พ. 68 - 9 ธ.ค. 68 | กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมการจัดการขยะโดยชุมชน | 25 | 17,650.00 | - | ||
3 หมู่บ้านต้นแบบ ปลอดขยะ ปลอดโรค | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 25 | 2,280.00 | 0 | 0.00 | |
1 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 3 หมู่บ้านต้นแบบ ปลอดขยะ ปลอดโรค | 25 | 2,280.00 | - | ||
4 ติดตามและประเมินผลโครงการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 25 | 1,750.00 | 0 | 0.00 | |
25 มิ.ย. 68 - 25 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 4 ติดตามและประเมินผลโครงการ | 25 | 1,750.00 | - | ||
1.มีเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) ในตำบลบ้านนา
2.มีการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อย่างเป็นระบบและยั่งยืน
3.ประชาชนมีการตื่นตัวในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่
4.สภาพแวดล้อมในพื้นที่ตำบลบ้านนา มีความสะอาด เรียบร้อย น่าอยู่ ปลอดภัย เอื้อต่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ต.ค. 2567 17:34 น.