โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา ”
หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
เพ็ญศรี โอภาส
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา
ที่อยู่ หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-50105-01-06 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-50105-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง ความผิดปกติทางพันธุ์กรรม การบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน ปัจจัยสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอาหารและอากาศ เครื่องดื่มยารักษาโรคร่วมทั้งการได้รับรังสี เชื้อไวรัสการควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดโรคและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ สำหรับโรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทย พบว่าสตรีทุก 16 คนมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมได้1 คนแม้ว่ามะเร็งเต้านม ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายในอัตราที่สูง แต่ก็เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ และการพยากรณ์โรคค่อนข้างดี ถ้าสามารถตรวจพบและให้การรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่ง 80 เปอร์เซ็นต์ของมะเร็งเต้านม สามารถตรวจพบได้โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำให้ปฏิบัติมากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่ยุ่งยาก สามารถปฏิบัติได้ง่ายด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษใดๆช่วยในการตรวจ ประหยัดเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่าร้อยละ 60 ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มารับการรักษาเมื่อระยะของโรคลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองแล้ว ทั้งนี้เนื่องมาจากสตรีเหล่านี้ไม่เคยตรวจเต้านมด้วยตนเอง รวมทั้งการขาดความรู้ ความเชื่อมั่น ในการตรวจเต้านม
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านจันนา ตำบลดอนทรายจึงได้จัดทำส่งเสริมแบบบูรณาการบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง ตำบลดอนทราย ปีงบประมาณ 2568เพื่อให้ความรู้และสร้างความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าว และเป็นการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้เพื่อให้ได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ลดความรุนแรงของโรคให้น้อยลงด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ติดตามผลกลุ่มผิดปกติ และติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมะเร็ง
- ประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
- ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย
- ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้กลุ่มเป้าหมาย(Fit Test )
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทักษะการตรวจเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รับรู้ปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงโรคมะเร็งมีความรู้ในการป้องกันการเกิดโรค เพื่อลดอัตราป่วยมะเร็งรายใหม่ และอัตราการตายด้วยโรคมะเร็ง
- กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมากขึ้น และเข้าสู่กระบวนการรักษาอย่างรวดเร็ว ในรายที่ผิดปกติ
- อัตราการป่วยและการตายจากโรคมะเร็งลดลง
4.มีกระบวนการส่งต่อเชื่อมโยงข้อมูลที่ทันสมัย รวดเร็วง่ายต่อการตรวจรักษาต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย
- จัดทำแผนปฏิบัติงาน ตรวจคัดกรองเชิงรุก ลงพื้นที่
- ประชุมอสม ตามแผนปฏิบัติงาน ให้ประชาสัมพันธ์ ติดตามกลุ่มเป้าหมายมารับบริการ
- จัดซื้อผ้าป้องกันการติดเชื้อ จำนวน 40 ผื่น เพื่อกระตุ้นแรงจูงใจ รับบริการ กลุ่มที่ไม่เคยได้รับการตรวจภายใน 5 ปีที่ผ่านมา
5. เก็บสิ่งส่งตรวจ ให้ รพ. เพื่อยืนยันผล /แปรผล
- คืนข้อมูลให้กลุ่มเป้าหมาย / จัดคิวจองพบแพทย์ ในกรณีผิดปกติ
- ส่งต่อเพื่อวินิจฉัยต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรอง โดยวิธี Self HPV DNA ร้อยละ 100
กลุ่มเป้าหมาย อายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ ร้อยละ 100
กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ สถานะภาพสุขภาพ เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ได้รับการส่งต่อ วินิจฉัยที่รวดเร็วหากผลผิดปกติ
0
0
2. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย
- จัดทำแผนปฏิบัติงาน ตรวจคัดกรองเชิงรุก ลงพื้นที่
- ประชุมอสม ตามแผนปฏิบัติงาน ให้ประชาสัมพันธ์ ติดตามกลุ่มเป้าหมายมารับบริการ
- จัดซื้อผ้าป้องกันการติดเชื้อ จำนวน 40 ผื่น เพื่อกระตุ้นแรงจูงใจ รับบริการ กลุ่มที่ไม่เคยได้รับการตรวจภายใน 5 ปีที่ผ่านมา
5. เก็บสิ่งส่งตรวจ ให้ รพ. เพื่อยืนยันผล /แปรผล
- คืนข้อมูลให้กลุ่มเป้าหมาย / จัดคิวจองพบแพทย์ ในกรณีผิดปกติ
- ส่งต่อเพื่อวินิจฉัยต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรอง โดยวิธี Self HPV DNA ร้อยละ 100
กลุ่มเป้าหมาย อายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ ร้อยละ 100
กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ สถานะภาพสุขภาพ เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ได้รับการส่งต่อ วินิจฉัยที่รวดเร็วหากผลผิดปกติ
0
0
3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทักษะการตรวจเต้านม
วันที่ 30 เมษายน 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.1 จัดอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ปัจจัยเสี่ยง และวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ Self HPV DNA ทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง กลุ่มอายุ 30-70 ปี
1.2 สาธิตการตรวจเต้านมด้วยโมเดล สลับคู่การตรวจ
1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผู้รับบริการที่เคยผ่าตัดก่อนเนื้อ รับการรักษาในระยเริ่มแรก จนแพทย์ได้วินิจฉัยแล้ว ปกติ และติดตามอาการอย่างน้อยปีละครั้ง และการตรวจด้วยเครื่องแมมโมแกรม
1.4 จนท. จัดทำแผนปฏิบัติงานเชิงรุก ในสถานบริการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง Self HPV DNA ผู้่รับบริการที่ไม่เคยได้รับการตรวจภายใน 5 ปี ที่มา
1.5 จนท.ให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ กลุ่มอายุ 50-70ปี โดยกลุ่มเป้าหมายมีข้อบ่งชี้ กรรมพันธ์ุ สายตรงเป็นมะเร็งลำไส้ ท้องผูก ริดสีดวงทวาร โดย รพ.จัดสรรอุปกรณ์ให้ จำนวน 93 ชิ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการตรวจ Self HPV DNA จำนวน 23 คน ส่งต่อ 3 ราย
ผลการตรวจ Fittest ผลปกติ จำนวน 44 ราย ส่งต่อเพื่อส่องกล้องยีนยันผล จำนวน 1 ราย
กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม ร้อยละ100
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของกลุ่มสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST
20.00
100.00
2
เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของกลุ่มสตรีเป้าหมาย อายุ 30 -70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
20.00
100.00
3
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว
20.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
210
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามผลกลุ่มผิดปกติ และติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมะเร็ง (2) ประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (3) ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย (4) ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้กลุ่มเป้าหมาย(Fit Test ) (5) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทักษะการตรวจเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-50105-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( เพ็ญศรี โอภาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา ”
หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
เพ็ญศรี โอภาส
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-50105-01-06 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 7 และหมู่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-50105-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง ความผิดปกติทางพันธุ์กรรม การบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน ปัจจัยสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอาหารและอากาศ เครื่องดื่มยารักษาโรคร่วมทั้งการได้รับรังสี เชื้อไวรัสการควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดโรคและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ สำหรับโรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทย พบว่าสตรีทุก 16 คนมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมได้1 คนแม้ว่ามะเร็งเต้านม ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายในอัตราที่สูง แต่ก็เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ และการพยากรณ์โรคค่อนข้างดี ถ้าสามารถตรวจพบและให้การรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่ง 80 เปอร์เซ็นต์ของมะเร็งเต้านม สามารถตรวจพบได้โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำให้ปฏิบัติมากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่ยุ่งยาก สามารถปฏิบัติได้ง่ายด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษใดๆช่วยในการตรวจ ประหยัดเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่าร้อยละ 60 ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มารับการรักษาเมื่อระยะของโรคลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองแล้ว ทั้งนี้เนื่องมาจากสตรีเหล่านี้ไม่เคยตรวจเต้านมด้วยตนเอง รวมทั้งการขาดความรู้ ความเชื่อมั่น ในการตรวจเต้านม ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านจันนา ตำบลดอนทรายจึงได้จัดทำส่งเสริมแบบบูรณาการบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง ตำบลดอนทราย ปีงบประมาณ 2568เพื่อให้ความรู้และสร้างความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าว และเป็นการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้เพื่อให้ได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ลดความรุนแรงของโรคให้น้อยลงด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ติดตามผลกลุ่มผิดปกติ และติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมะเร็ง
- ประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
- ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย
- ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้กลุ่มเป้าหมาย(Fit Test )
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทักษะการตรวจเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รับรู้ปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงโรคมะเร็งมีความรู้ในการป้องกันการเกิดโรค เพื่อลดอัตราป่วยมะเร็งรายใหม่ และอัตราการตายด้วยโรคมะเร็ง
- กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมากขึ้น และเข้าสู่กระบวนการรักษาอย่างรวดเร็ว ในรายที่ผิดปกติ
- อัตราการป่วยและการตายจากโรคมะเร็งลดลง 4.มีกระบวนการส่งต่อเชื่อมโยงข้อมูลที่ทันสมัย รวดเร็วง่ายต่อการตรวจรักษาต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรอง โดยวิธี Self HPV DNA ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมาย อายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ สถานะภาพสุขภาพ เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ได้รับการส่งต่อ วินิจฉัยที่รวดเร็วหากผลผิดปกติ
|
0 | 0 |
2. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรอง โดยวิธี Self HPV DNA ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมาย อายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ สถานะภาพสุขภาพ เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ได้รับการส่งต่อ วินิจฉัยที่รวดเร็วหากผลผิดปกติ
|
0 | 0 |
3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทักษะการตรวจเต้านม |
||
วันที่ 30 เมษายน 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.1 จัดอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ปัจจัยเสี่ยง และวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ Self HPV DNA ทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง กลุ่มอายุ 30-70 ปี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการตรวจ Self HPV DNA จำนวน 23 คน ส่งต่อ 3 ราย
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของกลุ่มสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST |
20.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของกลุ่มสตรีเป้าหมาย อายุ 30 -70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม |
20.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว |
20.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 210 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามผลกลุ่มผิดปกติ และติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมะเร็ง (2) ประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (3) ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย (4) ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้กลุ่มเป้าหมาย(Fit Test ) (5) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ โรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทักษะการตรวจเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมแบบบูรณาการระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง รพ.สต. บ้านจันนา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-50105-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( เพ็ญศรี โอภาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......