กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนหมู่ที่ 7 ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางลักขณารัตน์ เศรษฐพงศ์/ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนหมู่ที่ 7

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3346-2-07 เลขที่ข้อตกลง 009/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนหมู่ที่ 7 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนหมู่ที่ 7



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนหมู่ที่ 7 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3346-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการดำเนินงานคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย พ.ศ. 2567 พบว่าประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 350 ราย เป็นโรคเบาหวานอย่างเดียว 21 ราย โรคความดันโลหิตสูงอย่างเดียว 69 ราย เป็นทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคนเดียวกัน 48 ราย แสดงให้เห็นว่ายังมีแนวโน้มการเกิดโรค การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคโดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคโดยมีเป้าหมายเป็นประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูงและการวัดเส้นรอบพุง การเจาะน้ำตาล ในเลือดเพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น เพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง โดยเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรค ต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย ในรายที่ป่วยแล้วได้รับการตรวจประเมินภาวะโรค อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรค ทั้งนี้การดำเนินงานด้านสาธารณสุข ที่มีจุดมุ่งหมายในการลดการป่วยและการตายของประชาชนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้น ไม่สามารถดำเนินการในด้านใดด้านหนึ่งเพียงอย่างเดียวได้ หากแต่ต้องเป็นการดำเนินงานทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วยด้านการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนให้ปลอดโรคด้านการป้องกันควบคุมโรค โดยการลดและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมสุขภาพและลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้านการรักษาพยาบาลในประชาชนที่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการขึ้น และด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจในภาวะที่เกิดความพิการและภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ให้สามารถดูแลตนเองได้ไม่เป็นภาระให้กับครอบครัวและสังคมโดยอาศัยการดำเนินงานในลักษณะการเป็นหุ้นส่วนกันระหว่างภาคีเครือข่าย ชมรม อสม.หมู่ที่ 7 ต.บ้านพร้าว ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต จากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น
  3. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตาม
  4. ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรอง อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกัน การดูแลส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อยร้อยละ 90
  2. กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง ร้อยละ 90 ได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยน
  3. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 ที่ตรวจพบความผิดปกติ และสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต จากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตและเบาหวานอย่างต่อเนื่อง โดยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ
90.00 90.00

 

2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่ทราบว่ามีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องไม่เป็นภาระในการดูแล รักษาภาระต่อครอบครัวและสังคม
80.00 80.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตาม
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยป่วยและ/หรือความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามมากกว่าหรือเท่ากับ
30.00 30.00

 

4 ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามมากกว่าหรือเท่ากับ
52.00 52.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต จากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข (2) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตาม (4) ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกัน การดูแลส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนหมู่ที่ 7 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3346-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลักขณารัตน์ เศรษฐพงศ์/ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด