โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านคลองแงะ
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านคลองแงะ |
รหัสโครงการ | 68-50087-2-12 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านคลองแงะ |
วันที่อนุมัติ | 7 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 16 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 1 พฤศจิกายน 2568 |
งบประมาณ | 5,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางลดานที จินดานิมิตร บุปปะโพธิ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 22 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า | 25.00 | ||
2 | ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) | 72.00 | ||
3 | ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 0-6 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) | 70.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่มีพัฒนาการทางร่างกายอย่างรวดเร็ว การส่งเสริมให้เด็กมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมจะช่วยเสริมสร้างพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหว และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้และดำเนินชีวิตประจำวัน กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross Motor Skills) เช่น การวิ่ง การกระโดด และการทรงตัว มีความสำคัญต่อการเคลื่อนไหวที่มั่นคง ขณะที่กล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motor Skills) เช่น การจับ การปั้น และการตัดกระดาษ ช่วยเสริมสร้างความแม่นยำของการใช้มือและนิ้วมือ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาทักษะการเขียนและการเรียนรู้ด้านอื่นๆ ดังนั้น โรงเรียนจึงมีความจำเป็นต้องจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในด้านนี้อย่างเหมาะสมและสนุกสนาน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า |
25.00 | 19.20 |
2 | เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) |
72.00 | 85.00 |
3 | ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 0-6 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
|
70.00 | 83.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 5,000.00 | 0 | 0.00 | |
16 พ.ค. 68 | ประชุมวางแผนและมอบหมายการทำงาน | 0 | 0.00 | - | ||
2 มิ.ย. 68 - 12 ก.ย. 68 | กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ฝึกพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ | 0 | 5,000.00 | - | ||
15 - 26 ก.ย. 68 | กิจกรรมสรุปผลและประเมินโครงการ | 0 | 0.00 | - |
1.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางกายเพิ่มขึ้น 2.เด็กปฐมวัยได้ฝึกและเรียนรู้กิจกรรมเพิ่มขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2567 00:00 น.