โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 ”
ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสารีพ๊ะ สะนอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-2-02 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2497-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในพื้นที่ตำบลตะปอเยาะ ซึ่งถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต เท้า หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้นอุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนือง และยาวนานมีความใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูงมา ในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงยิ่งมีการคัดกรองเพิ่มสูงขึ้น ก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ในเรื่องของภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยก็มีอัตราเพิ่มขึ้น ดังนั้นแนวทางการแก้ไข จะต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยตั้งแต่การคัดกรอง และทำการจัดกลุ่มของกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงป่วย ในกลุ่มป่วย ต้องดำเนินการให้การรักษา จะต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอจึงต้องบูรณาการให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ดังนั้นเครือข่าย อสม. รวมใจตำบลตะปอเยาะ จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในชุมชนให้ได้มากที่สุด โดยทีมงาน อสม. และเครือข่ายในการดำเนินงานไปตรวจคัดกรองเบาหวาน และความดันโลหิตสูงให้ได้มาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง
ในนปัจจุบันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้นทุกปีจากการทดสอบเรื่องสุขภาพการดูแลสุขภาพทั้งด้านการรับประทานอาหารและยา พบว่าผู้ป่วยยังขาดความรู้จึงส่งผลให้ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้ดี ดังนั้นโครงการนี้จึงมีความสำคัญในการเตรียมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั้งเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมจากสหวิชาชีพ ให้สามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกวิธี แบบพึ่งพาตนเองได้ ไม่ต้องพึ่งยามากเกินความจำเป็น ให้เป็นแบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- 2.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น
- 3.เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมฟื้นฟูความรู้ให้ เครือข่าย อสม. ในการการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและการป้องกันโรคเรื้อรังแก่
- อสม.ลงพื้นที่คัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในตำบลตะปอเยาะทั้งหมด 5 หมู่บ้าน หมู่ละ 3 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
105
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
0.00
2
2.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
0.00
3
3.เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
105
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
105
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น (3) 3.เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูความรู้ให้ เครือข่าย อสม. ในการการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและการป้องกันโรคเรื้อรังแก่ (2) อสม.ลงพื้นที่คัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในตำบลตะปอเยาะทั้งหมด 5 หมู่บ้าน หมู่ละ 3 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสารีพ๊ะ สะนอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 ”
ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสารีพ๊ะ สะนอ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-2-02 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2497-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในพื้นที่ตำบลตะปอเยาะ ซึ่งถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต เท้า หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้นอุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนือง และยาวนานมีความใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูงมา ในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงยิ่งมีการคัดกรองเพิ่มสูงขึ้น ก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ในเรื่องของภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยก็มีอัตราเพิ่มขึ้น ดังนั้นแนวทางการแก้ไข จะต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยตั้งแต่การคัดกรอง และทำการจัดกลุ่มของกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงป่วย ในกลุ่มป่วย ต้องดำเนินการให้การรักษา จะต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอจึงต้องบูรณาการให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ดังนั้นเครือข่าย อสม. รวมใจตำบลตะปอเยาะ จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในชุมชนให้ได้มากที่สุด โดยทีมงาน อสม. และเครือข่ายในการดำเนินงานไปตรวจคัดกรองเบาหวาน และความดันโลหิตสูงให้ได้มาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ในนปัจจุบันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้นทุกปีจากการทดสอบเรื่องสุขภาพการดูแลสุขภาพทั้งด้านการรับประทานอาหารและยา พบว่าผู้ป่วยยังขาดความรู้จึงส่งผลให้ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้ดี ดังนั้นโครงการนี้จึงมีความสำคัญในการเตรียมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั้งเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมจากสหวิชาชีพ ให้สามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกวิธี แบบพึ่งพาตนเองได้ ไม่ต้องพึ่งยามากเกินความจำเป็น ให้เป็นแบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- 2.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น
- 3.เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมฟื้นฟูความรู้ให้ เครือข่าย อสม. ในการการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและการป้องกันโรคเรื้อรังแก่
- อสม.ลงพื้นที่คัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในตำบลตะปอเยาะทั้งหมด 5 หมู่บ้าน หมู่ละ 3 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 105 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 105 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 105 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น (3) 3.เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูความรู้ให้ เครือข่าย อสม. ในการการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและการป้องกันโรคเรื้อรังแก่ (2) อสม.ลงพื้นที่คัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในตำบลตะปอเยาะทั้งหมด 5 หมู่บ้าน หมู่ละ 3 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรวมใจเครือข่าย อสม.ตะปอเยาะ คัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสารีพ๊ะ สะนอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......