กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านกาแลกุมิ
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านกาแลกุมิหมู่ที่ 5 ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
วันที่อนุมัติ 7 พฤษภาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็ก 4-12 ที่มีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (ขาดสารอาหาร) ในโรงเรียนบ้านกาแลกุมิ จำนวน 40 คน 2. นักเรียนโรงเรียนบ้านกาแลกุมิที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 40 คน ได้รับประทานอาหารเสริม ทุกคน 3. เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวในการปรับพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการของนักเรียน

นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงเพิ่มขึ้น

40.00 30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,000.00 0 0.00
2 ธ.ค. 67 - 31 ม.ค. 68 คัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 0 0.00 -
16 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 เพิ่มมื้ออาหารเพิ่มพลัง 0 30,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (ขาดสารอาหาร) ในโรงเรียนบ้านกาแลกุมิ ร้อยละ 80
  2. นักเรียนโรงเรียนบ้านกาแลกุมิมีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 40 คน ได้รับประทานอาหารเสริมทุกคน ร้อยละ 100
  3. เกิดการสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวในการปรับพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการของนักเรียน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ย. 2567 00:00 น.