กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน ปี 2568 ”
หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางปิ่นอนงค์ สาเละ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน ปี 2568

ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5307-2-4 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน ปี 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสีย ทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว เนื่องจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆ อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความพิการ เป็นผู้ป่วยติดเตียง นอกจากนี้ยังมีภาวะไตวายเรื้อรังซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อน ที่มีค่าใช้จ่ายสูงในการรักษา ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และครอบครัวสำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคคือ กรรมพันธุ์และพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการใช้ชีวิตในแต่ละวันจากผลการวิจัยหลายเรื่องชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการส่งเสริมความรู้และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบ มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
จากผลการคัดกรองสุขภาพประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบหมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในปีงบประมาณ 2567 พบประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 28 คน โรคเบาหวาน จำนวน 7 คน เป็นกลุ่มเสี่ยงทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 4 คน รวมมีกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน จำนวน 39 คน และกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 9 คน โรคเบาหวาน จำนวน 3 คน ไม่มีกลุ่มสงสัยป่วยทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรวมมีกลุ่มป่วยต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน จำนวน 12 คน กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวควรได้รับข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของตนเองเพื่อให้รู้เท่าทันภาวะสุขภาพได้รับการติดตาม เฝ้าระวังและควรได้รับการส่งเสริมความรู้ในเรื่องของโรคเรื้อรังที่ต้องเฝ้าระวังการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม ให้สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตประจำวันและความเชื่อต่างๆที่มีผลต่อการดูแลสุขภาพ เมื่อประชาชนมีสุขภาพที่ดีส่งผลให้อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ลดลงและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน ปี 2568 ขึ้นเพื่อเน้นการส่งเสริมความรู้ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสร้างความตระหนักและส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้ประชาชนหมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควนมีสุขภาพที่ดีและลดอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งเสริมความรู้ที่เหมาะสม
  2. เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมความพร้อมก่อนดำเนินกิจกรรมโครงการ
  2. ส่งเสริมความรู้ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชุมสรุปผลการติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ของแกนนำ อสม. ครั้งที่ 1
  4. ประชุมสรุปผลการติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ของแกนนำ อสม. ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 12
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 39
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ การส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมเมื่อรู้เท่าทันสุขภาพตนเอง สามารถเฝ้าระวัง และส่งเสริมสุขภาพตนเองได้เหมาะสม สอดคล้องตามบริบทในชีวิตประจำวัน
2.เมื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และได้รับการติดตามสุขภาพมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมส่งผลให้มีผู้ป่วยรายใหม่ลดลง
3.เมื่อประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ในเรื่องของโรคการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีส่งผลให้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยให้อยู่ในเกณฑ์ปกติสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงจากโรคได้
4.ประชาชนเกิดความตระหนัก และให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพเฝ้าระวัง และติดตามสุขภาพของตนเอง อย่างต่อเนื่องเพื่อให้รู้เท่าทันสุขภาพของตนเองสามารถจัดการสุขภาพของตนเองได้เหมาะสมได้รับการดูแลรักษา ทันท่วงทีเมื่อมีการเจ็บป่วย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งเสริมความรู้ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งเสริมความรู้ที่เหมาะสม ร้อยละ 100
37.00 100.00

 

2 เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชน กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ ร้อยละ 100
62.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 12
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 39
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งเสริมความรู้ที่เหมาะสม (2) เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมความพร้อมก่อนดำเนินกิจกรรมโครงการ (2) ส่งเสริมความรู้ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) ประชุมสรุปผลการติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ของแกนนำ อสม. ครั้งที่ 1 (4) ประชุมสรุปผลการติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ของแกนนำ อสม. ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน ปี 2568 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5307-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปิ่นอนงค์ สาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด