โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 58-L5303-2-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ต.เจ๊ะบิลัง |
วันที่อนุมัติ | 30 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 22 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 24,730.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ต.เจ๊ะบิลัง |
พี่เลี้ยงโครงการ | กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.687,99.965place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 22 ต.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2568 | 24,730.00 | |||
รวมงบประมาณ | 24,730.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขและเป็นและเป็นปัญหาทุพโภชนาการในทุกกลุ่มวัย ส่งผลต่อการเจริญการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย พัฒนาการสมอง ประสิทธิภาพการเรียนรู้การทำงานของเด็กวัยเรียนและวัยทำงาน และมีผลต่อการตั้งครรภ์ในอนาคตของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ข้อมูลสุขภาพจากสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขพบว่าในปี2567 ร้อยละของหญิงที่สิ้นสุดการตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบ มีภาวะโลหิตขณะตั้งครรภ์ พบร้อยละ 29.7 ซึ่งยังไม่บรรลุค่าลดอัตราภาวะโลหิตจางของหญิงวัยเจริญพันธุ์ลงร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ.2573 กล่าวคือเป้าหมายของประเทศไทยควรมีภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่เกินร้อยละ 12.4 ซึ่งปี2567 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-49ปี ที่ได้รับการคัดกรองภาวะโลหิตจางในขณะที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ และพบภาวะโลหิตจาง พบร้อยละ 49.3 ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 ได้เล็งเห็นถึงปัญหาสุขภาพดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ประชาชนในตำบลเจ๊ะบิลังได้เข้าถึงบริการสุขภาพได้ง่ายมากขึ้น ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ลดภาวะโลหิตจาง และโอกาสเกิดผลเสียต่อสุขภาพของประชาชนไทยในอนาคต
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความรอบรู้การบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและกรดโฟเลตแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นในการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและกรดโฟเลต |
||
2 | เพื่อยกระดับการเข้าถึงบริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิกตามชุดสิทธิประโยชน์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับบริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิกตามชุดสิทธิประโยชน์ |
||
3 | เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราภาวะโลหิตจางของหญิงวัยเจริญพันธุ์ร้อยละ 50 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 188 | 24,730.00 | 0 | 0.00 | 24,730.00 | |
22 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | จัดอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กและโฟเลต | 188 | 24,730.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 188 | 24,730.00 | 0 | 0.00 | 24,730.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 พ.ย. 2567 10:56 น.