โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันการระบาดโรคฉี่หนู
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันการระบาดโรคฉี่หนู |
รหัสโครงการ | 68 – L8278 -01-001 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา |
วันที่อนุมัติ | 6 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 73,650.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมาซียะ บาเหมบูงา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.25,101.233place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 15 พ.ย. 2567 | 31 ธ.ค. 2567 | 73,650.00 | |||
รวมงบประมาณ | 73,650.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 540 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์โรคติดต่อในพื้นทีต าบลบันนังสตา อ าเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ซึ่งพื้นที่เป็นพื้นที่ราบลุ่มพื้นที่ เกษตรกรรมด้านการปลูกยางพาราและอีกทั้งยังมีบริเวณที่มีน้ าท่วมขังเป็นเวลานานทั้งในสวนยางพาราและบริเวณที่อยู่อาศัย ประกอบกับภาคใต้มีฤดูฝนติดต่อกันเป็นเวลานาน ซึ่งในปี 256๖ มีฝนตกติดต่อกันเป็นเวลานาน ท าให้บางพื้นที่มีน้ าท่วมขัง ซึ่ง โรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู มักจะมาช่วงฤดูฝน ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเดินย่ าโคลนหรือพื้นที่ที่มี น้ าขังด้วยเท้าเปล่า เป็นสาเหตุของการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือ "โรคฉี่หนู" ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ชื่อว่า เชื้อเลปโตสไปร่า (Leptospirosis) เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล รอยขีดข่วน รอยถลอกตามผิวหนัง เยื่อบุตา จมูก ปาก หรือ ไชเข้าผิวหนังที่แช่น้ าเป็นเวลานาน พบมากในพื้นที่ที่มีการปลูกยางพารา เนื่องจากต้องเดินย่ าน้ าหรือพื้นดินที่ชื้นแฉะ อาการของ โรคคือมีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดเจ็บกล้ามเนื้อที่โคนขาและน่องอย่างมาก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ตาแดง บางราย อาจมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ไอมีเลือดปนหรือตัวเหลืองตาเหลือง เนื่องจากเยื้อหุ้มสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ตับวาย ไตวาย และเสียชีวิตได้ นับตั้งแต่วันที่1 มกราคม 256๖ ถึงวันที่31 ธันวาคม 256๖ ต าบลบันนังสตา ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Leptospirosis จ านวนทั้งสิ้น 25 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 3.37 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต หน่วยบริการปฐม ภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา มีความห่วงใยสุขภาพประชาชนและตระหนักถึงโรคภัยที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่เป็นอย่าง มาก จึงได้จัดท าโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันการระบาดโรคฉี่หนู(Leptospirosis) ในชุมชนอย่างเร่งด่วนแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงใน พื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคฉี่หนูในช่วงฤดูฝนและช่วงน้ าท่วม ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและสามารถเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคฉี่หนูให้ มีประสิทธิภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตาจึงได้จัดท า “โครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกันการระบาดโรคฉี่หนู”
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชน มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงการ ป้องกันโรคฉี่หนู ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องโรคฉี่หนู |
||
2 | เพื่อลดอัตราตายด้วยโรคฉี่หนู อัตราตาย=0 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 540 | 73,650.00 | 0 | 0.00 | 73,650.00 | |
15 พ.ย. 67 - 31 ธ.ค. 67 | อบรมให้ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคฉี่หนูและโรคตามฤดูกาล | 540 | 73,650.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 540 | 73,650.00 | 0 | 0.00 | 73,650.00 |
ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงการป้องกันตนเองและครอบครัวและสามารถน าไปเผยแพร่สู่ชุชนใกล้เคียงเพื่อลด อัตราป่วยด้วยโรคฉี่หนู
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2567 15:05 น.