โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงการ | โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง |
รหัสโครงการ | 68 – L8278 -01-002 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา |
วันที่อนุมัติ | 6 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 64,935.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวอามีเนาะ ประดู่ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.25,101.233place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 15 พ.ย. 2567 | 31 ธ.ค. 2567 | 64,935.00 | |||
รวมงบประมาณ | 64,935.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 400 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและมะเร็ง กลายเป็นภัย ระบาดเงียบที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และยังก่อให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนอันตรายต่างๆ ที่สามารถท าลายอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ท าให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอัน ควร เช่น หัวใจวาย ไตวาย เส้นเลือดในสมองตีบแตก เกิดอัมพาต และประสาทตาเสื่อมมัว โรคเหล่านี้ท าให้ผู้ป่วยเกิด ความทุกข์ทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องอาศัยการรักษา อย่างต่อเนื่องด้วยการทานยาตลอดชีวิต ซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างมหาศาล จึงท าให้ประเทศต้องมีนโยบายในการป้องกันควบคุมโรคเหล่านี้ โดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงในประชากรไทย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้เช่นกรรมพันธุ์อายุและปัจจัย ที่สามารถควบคุมได้เช่น ความอ้วน , ความเครียด , ขาดการออกก าลังกาย , การบริโภคอาหารไม่ถูก การดื่มสุรา สูบ บุหรี่ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าวร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ 35 ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อ การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจ าเป็นต้องรับประทาน ยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ท าให้ สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ซึ่งจากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา ปีงบประมาณ 2567 พบว่าประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน เป็นกลุ่มเสี่ยง จ านวน 691 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.38 และกลุ่มสงสัยป่วย จ านวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.18 และพบผู้ป่วยด้วย โรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 1.10 และประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มเสี่ยง จ านวน 435 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.07 และกลุ่มสงสัยป่วย จ านวน 419 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.53 และพบผู้ป่วยด้วยโรคความ ดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 1.23 หากประชาชนในกลุ่มต่างๆ ไม่มีการปฏิบัติตัวที่ดี หรือขาดความรู้ในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ส่งผลให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มสงสัยป่วยด้วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งสามารถ ประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของ ตนเองครอบครัว และชุมชน เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดท าโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2567
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับ ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันการ เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและ ภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
|
- มีรูปแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ดีและเหมาะสม สามารถน าไปใช้ได้จริง ตาม บริบทชุมชน
- กลุ่มสงสัยป่วย สามารถรับรู้ ตระหนักสภาวะสุขภาพ การจัดการตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2567 15:32 น.