กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคติดต่อในเยาวชนมุสลิม(ชาย) ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายมามะ ซูมามะ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคติดต่อในเยาวชนมุสลิม(ชาย) ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68 – L8278 -02-003 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤศจิกายน 2567 ถึง 14 พฤศจิกายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคติดต่อในเยาวชนมุสลิม(ชาย) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคติดต่อในเยาวชนมุสลิม(ชาย) ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคติดต่อในเยาวชนมุสลิม(ชาย) ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68 – L8278 -02-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤศจิกายน 2567 - 14 พฤศจิกายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อยังคงเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย และชี้ให้เห็นถึงการขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันตนเองจากการติดโรค รวมถึงการขาดความตระหนักถึงอันตรายของโรคโดยเฉพาะโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากรายงานของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าอัตราป่วยเพิ่มจาก 19 รายต่อประชากรแสนคนในปีพ.ศ. 2556 เป็น 23.2 รายและ 28.9 รายต่อประชากรแสนคนในปีพ.ศ. 2558 และ 2560 ตามลำดับ โดยกลุ่มเยาวชนอายุ 15–24 ปีมีสัดส่วนการป่วยมากที่สุด ตัวอย่างเช่น โรค Herpis Simplex แบบที่ 2 หรือเริมที่อวัยวะเพศกับเชื้อพับพิโลมาไวรัส ที่เกิดกับคน ที่เรียกย่อๆ ว่า HPV นั้น เป็นมีกามโรคหรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ชนิดที่เป็นกันมากที่สุด เชื้อ HPV ที่ทำให้เป็นเนื้องอกที่เนื้อเยื่อบุผิว เป็นสาเหตุสำคัญของมะเร็งปากมดลูก โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งกำลังตรวจหาโรคมะเร็ง ยังไม่ค่อยมีให้ใช้งานทั่วไป นักวิจัยพบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ลดอัตราการติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศลง 35% เมื่อเทียบกับชายการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ การวิจัยนั้นบ่งชี้ด้วยว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ หรือถ่ายเทเชื้อ HPV 28% และยังมีการศึกษา พบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ หรือถ่ายเทเชื้อไวรัส HIV ที่ทำให้เป็นโรคเอดส์ลง 60% จะเห็นว่าการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นอาวุธอย่างดีในการต่อสู้กับเชื้อ HIV, HPV และไวรัสโรคเริมที่อวัยวะเพศ เด็กผู้ชายทุกคนเมื่อเกิดมา จะมีหนังที่หุ้มอยู่บริเวณปลายอวัยวะเพศจากข้อมูลทางการแพทย์พบว่า บริเวณหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเป็นจุดรวมของเชื้อโรคเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถล้างทำความสะอาดได้ อย่างทั่วถึง จึงมักจะเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ภาวะหนังหุ้มปลายตีบ แน่น และกามโรค ดังนั้นทางการแพทย์จึงส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศตั้งแต่วัย เด็ก เพราะจะทำให้สามารถดูแลและทำความสะอาดอวัยวะเพศได้ง่ายขึ้น สะอาดมากขึ้นและลดโอกาสการเป็น โรคร้ายได้มากขึ้น ดังนั้นการขริบตั้งแต่วัยเด็กจึงเป็นวิธีที่สามารถตัดปัญหาได้ดีที่สุด ดังนั้นการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ นอกเหนือจากการปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลามแล้ว โดยในทางการแพทย์ได้กล่าวถึงข้อดีของการขริบไว้ดังนี้
1. ทำความสะอาดง่ายขึ้น โดยปกติผู้ชายส่วนใหญ่คิดว่าการล้างทำความสะอาดอวัยวะเพศจาก ภายนอกก็สะอาดแล้ว แต่ยังมีคราบสกปรกและเหงื่อไคลที่สะสมอยู่ภายในหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ซึ่งนั่นถือเป็นแหล่งเชื้อโรคชั้นดีและเป็นต้นเหตุของอาการป่วยที่เกิดขึ้นกับอวัยวะเพศและระบบสืบพันธุ์อีกด้วย ดังนั้น การขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออก จึงทำให้ล้างทำความสะอาดได้ง่ายขึ้นและไม่มีคราบสกปรกไปสะสม
2. ลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคมะเร็ง เชื้อโรคที่สะสมอยู่ภายในหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศอาจทำให้ เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งได้ง่ายขึ้น การขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศจึงเป็นวิธีที่จะช่วยลดความเสี่ยงมะเร็งอวัยวะ เพศได้เป็นอย่างดี
3. ป้องกันกามโรค ซึ่งเป็นโรคหนึ่งที่เกิดได้มากในผู้ชาย สาเหตุหนึ่งเกิดจากความไม่สะอาดของหนังหุ้ม ปลายอวัยวะเพศที่มีสิ่งสกปรกและคราบเหงื่อไคลสะสมอยู่เป็นจำนวนมาก
4. ลดอัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะผู้ชายที่ไม่ได้ขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศจะมีอัตราการติด เชื้อทางเดินปัสสาวะมากกว่าผู้ชายที่ขริบ ซึ่งอาจเป็นเพราะเชื้อโรคที่สะสมอยู่ภายใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเป็น สาเหตุก่อให้เกิดการติดเชื้อ นอกจากนี้การขริบยังช่วยป้องกันภาวะหนังหุ้มปลายตีบตันได้อีกด้วย 5. การขริบช่วยลดการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเกิดโรคติดต่อที่มีแผลที่อวัยวะเพศในคนที่ ไม่ได้ขริบ มีมากกว่าคนที่ขริบถึง 2-7 เท่า โดยเฉพาะซิฟิลิส (syphilis) และ แผลริมอ่อน (cancroid)
6. การขริบลดการเกิดโรค HIV (Human immunodeficiency virus) ได้จากการศึกษา (Metaanalysis) พบว่า การขริบลดการเกิดติดเชื้อ HIV และการขริบลดการเกิดโรคติดเชื้อ HPV (Human papilloma virus) ในผู้ชาย และลดการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่เป็นคู่นอนได้ โดยนายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี ได้แนะนำว่า ช่วงวัยที่เหมาะสมที่สุดคือเด็กที่มีอายุ 5 ปีขึ้นไป เนื่องจากหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศจะช่วยปกป้องเชื้อโรคในช่วงที่เด็กต้องคลาน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เห็นถึงความสำคัญในการป้องกันโรคดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคติดต่อในเยาวชนชาย ประจำปี 2566 ขึ้น โดยมีกิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชน รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคและกิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Cirucumcision) ในเด็กอายุ 7 – 12 ปี เพื่อเป็นการป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
  2. เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน อายุ 7 – 12 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลบันนังสตา เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
  3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 44
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 88
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุหนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) 2.เด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ 3.สร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการการป้องกันโรคติดเชื้อ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ

     

    2 เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน อายุ 7 – 12 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลบันนังสตา เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
    ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย

     

    3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กและเยาวชนมุสลิมของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการบริการด้านการส่งเสริมและการป้องกันโรค

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 132
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 44
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 88
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (2) เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน อายุ 7 – 12 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลบันนังสตา เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding) (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคติดต่อในเยาวชนมุสลิม(ชาย) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68 – L8278 -02-003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมามะ ซูมามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด