โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กตำบลบุดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กตำบลบุดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L4135-01-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เทศบาลตำบลบุดี |
วันที่อนุมัติ | 5 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 94,775.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายซูการ์นอ มะตีมัน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : ระบุ |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ มักเกิดจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำ เพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดให้มีพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็ก และการที่ผู้ปกครองผู้ดูแลเด็กและเด็กไม่มีความรู้ในการกู้ชีพ/ ปฐมพยาบาลผิดวิธี เป็นต้น ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมกาเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้สอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการสอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง หมายถึง สอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง เน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” และการตะโกนขอความช่วยเหลือ และผู้ปกครองถือว่ามีความสำคัญเป็นอยากมาก ต้องมีความรู้ ในการสอนบุตรหลาน ให้รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง และหากเด็กจมน้ำต้องมีความรู้ความเข้าใจในการกู้ชีพ ปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธี ซึ่งสถานการณ์การจมน้ำในเด็กของพื้นที่ตำบลบุดี ช่วง 3 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2564 – 2567 พบเด็กจมน้ำ จำนวน 2 ราย จากปัญหาดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบุดี จึงเล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันการจมน้ำในเด็กของพื้นที่ตำบลบุดี จึงจัดโครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กตำบลบุดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างให้กับเด็กในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้ ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมาย สามารถสาธิตการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ถูกต้อง |
1.00 | 100.00 |
2 | เพื่อฝึกอบรมและปฏิบัติทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และสร้างแกนนำด้านการป้องกันการจมน้ำในชุมชน อัตราการเสียชีวิตจากอบัติเหตุทางน้ำลดลง |
1.00 | 100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 120 | 94,775.00 | 0 | 0.00 | |
1 ม.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 1.1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ เป็นการให้ความรู้และสอนให้เด็กรู้จัก - แหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน - สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวนปรากฏการณ์ Rip Current - วิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปล | 120 | 33,375.00 | - | ||
1 ม.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ - การเอาชีวิตรอดในน้ำ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด (ตะโกร โยน ยื่น) เช่น ขวดน้ำพลาสติก รองเท้าแตะฟองน้ำ การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำในน้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ - ฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำ - ฝึกทักษะการว่ายน้ำ | 0 | 61,400.00 | - |
- กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองสามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้
- กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2567 00:00 น.