กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมดครงการได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหายาเสพติดและพิษภัยของยาเสพติด ร้อยละ 90
1.00

 

 

 

2 เพื่อสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมการขยายตัวของปัญหายาเสพติด และลดการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษาได้ ร้อยละ 70
1.00

 

 

 

3 เพื่อปลุกจิตสำนึกของเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมและตลอดจนความมั่นคงของชาติ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตสำนึก มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลผลกระทบต่อปัญหาสังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ ร้อยละ 80
1.00

 

 

 

4 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถานศึกษา และตำบลกาวะ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมดครงการรู้จักการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลกาวะ และสถานศึกษาให้เข้มแข็งได้ ร้อยละ 70
1.00

 

 

 

5 เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
6.00 3.00

 

 

 

6 เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
2.00 6.00

 

 

 

7 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
20.00 10.00

 

 

 

8 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
5.00 2.00