โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายกิตติพงศ์ ตันนิกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8367-02-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8367-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางกระแสปฏิรูประบบสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ ปัจจุบันประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีการการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ. 2ส. 1ฟ. 1น. ดังนี้ 3อ. เริ่มจาก อ.ที่ 1 กินอาหารให้ตรงเวลามีความหลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วน 2:1:1 คือ ผักหลากสี 2 ส่วน เนื้อสัตว์ไขมันต่ำ 1 ส่วน ข้าว แป้ง 1 ส่วน ลดการกินอาหารประเภท หวาน มัน เค็ม ชา กาแฟ ขนมเบเกอรี่ ควรดื่มน้ำเปล่าอย่างน้อย 8 แก้ว หรือ 2 ลิตรต่อวัน อ. ที่ 2 ออกกำลังกายวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน เช่น การเต้น แอโรบิก การออกกำลังกายแบบคาดิโอ กระโดดเชือก การย่ำเท้าอยู่กับที่ การเดินวันละ 10,000 ก้าว การปั่นจักรยาน เป็นต้น อ.ที่ 3 หากิจกรรมที่ทำให้ผ่อนคลายจากความเครียด เช่น สวดมนต์ นั่งสมาธิ สำหรับ 2ส. คือ ส. ที่ 1ไม่สูบบุหรี่ ส. ที่ 2 ไม่ดื่มเหล้า 1ฟ. คือ การดูแลรักษาฟันสูตร 222 แปรงฟันอย่างน้อย 2 ครั้ง นานครั้งละ 2 นาที ไม่กินหรือไม่ดื่มหลังแปรงฟัน 2 ชั่วโมง และ 1น. คือ นอนหลับ 7-9 ชั่วโมงต่อวัน เพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรง สุขภาพดี ทั้งทางกายและทางใจ ที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที ด้วยการออกกำลังกายแบบต่างๆ เช่น ปั่นจักรยาน วิ่ง ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น ปัจจุบันกระแสนิยมในการปั่นจักรยานกำลังได้รับความนิยมสูงขึ้นตลอดเวลา มีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายการปั่นจักรยานเพื่อการท่องเที่ยว และการปั่นจักรยานเพื่อการแข่งขัน การปั่นจักรยานเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต จุดประกายและเป็นกิจกรรมที่ดีแก่เยาวชน ประชาชน ได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย
การปั่นจักรยานเป็นกิจกรรมที่สามารถเสริมสร้างความรักความสามัคคี เชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ดังนั้น ชมรมจักรยานตำบลจะนะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายสร้างเสริมสุขภาพที่ดีที่ครอบคลุมทุกด้านทั้งร่างกาย จิตใจ การใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งจะเป็นพลังในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนเพื่อการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
- เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
- ส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3 อ 2 ส. 1ฟ. 1น.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีการดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3อ. 2ส. 1ฟ. 1น.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพกาย ใจที่ดีขึ้น มากกว่าร้อยละ 80
2
เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกกลุ่มวัยหันมาออกกำลังกายโดยวิธีการปั่นจักรยานมากกว่าร้อยละ 80
3
ส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3 อ 2 ส. 1ฟ. 1น.
ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกกลุ่มวัยเกิดความตระหนักในการดูและสุขภาพตามมาตรการ 3อ. 2ส. 1ฟ. 1น. มากขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี (2) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น (3) ส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3 อ 2 ส. 1ฟ. 1น.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8367-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกิตติพงศ์ ตันนิกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายกิตติพงศ์ ตันนิกุล
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8367-02-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8367-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางกระแสปฏิรูประบบสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ ปัจจุบันประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีการการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ. 2ส. 1ฟ. 1น. ดังนี้ 3อ. เริ่มจาก อ.ที่ 1 กินอาหารให้ตรงเวลามีความหลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วน 2:1:1 คือ ผักหลากสี 2 ส่วน เนื้อสัตว์ไขมันต่ำ 1 ส่วน ข้าว แป้ง 1 ส่วน ลดการกินอาหารประเภท หวาน มัน เค็ม ชา กาแฟ ขนมเบเกอรี่ ควรดื่มน้ำเปล่าอย่างน้อย 8 แก้ว หรือ 2 ลิตรต่อวัน อ. ที่ 2 ออกกำลังกายวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน เช่น การเต้น แอโรบิก การออกกำลังกายแบบคาดิโอ กระโดดเชือก การย่ำเท้าอยู่กับที่ การเดินวันละ 10,000 ก้าว การปั่นจักรยาน เป็นต้น อ.ที่ 3 หากิจกรรมที่ทำให้ผ่อนคลายจากความเครียด เช่น สวดมนต์ นั่งสมาธิ สำหรับ 2ส. คือ ส. ที่ 1ไม่สูบบุหรี่ ส. ที่ 2 ไม่ดื่มเหล้า 1ฟ. คือ การดูแลรักษาฟันสูตร 222 แปรงฟันอย่างน้อย 2 ครั้ง นานครั้งละ 2 นาที ไม่กินหรือไม่ดื่มหลังแปรงฟัน 2 ชั่วโมง และ 1น. คือ นอนหลับ 7-9 ชั่วโมงต่อวัน เพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรง สุขภาพดี ทั้งทางกายและทางใจ ที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที ด้วยการออกกำลังกายแบบต่างๆ เช่น ปั่นจักรยาน วิ่ง ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น ปัจจุบันกระแสนิยมในการปั่นจักรยานกำลังได้รับความนิยมสูงขึ้นตลอดเวลา มีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายการปั่นจักรยานเพื่อการท่องเที่ยว และการปั่นจักรยานเพื่อการแข่งขัน การปั่นจักรยานเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต จุดประกายและเป็นกิจกรรมที่ดีแก่เยาวชน ประชาชน ได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย
การปั่นจักรยานเป็นกิจกรรมที่สามารถเสริมสร้างความรักความสามัคคี เชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ดังนั้น ชมรมจักรยานตำบลจะนะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายสร้างเสริมสุขภาพที่ดีที่ครอบคลุมทุกด้านทั้งร่างกาย จิตใจ การใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งจะเป็นพลังในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนเพื่อการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
- เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
- ส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3 อ 2 ส. 1ฟ. 1น.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีการดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3อ. 2ส. 1ฟ. 1น.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพกาย ใจที่ดีขึ้น มากกว่าร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกกลุ่มวัยหันมาออกกำลังกายโดยวิธีการปั่นจักรยานมากกว่าร้อยละ 80 |
|
|||
3 | ส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3 อ 2 ส. 1ฟ. 1น. ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกกลุ่มวัยเกิดความตระหนักในการดูและสุขภาพตามมาตรการ 3อ. 2ส. 1ฟ. 1น. มากขึ้น |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี (2) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้หันมาออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น (3) ส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพตามมาตรการ 3 อ 2 ส. 1ฟ. 1น.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาวจะนะสุขภาพดี ห่างไกลโรคด้วยตัวเรา ปีที่ 2 งบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8367-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกิตติพงศ์ ตันนิกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......