โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการด้วยกิจกรรมขาไถ
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการด้วยกิจกรรมขาไถ |
รหัสโครงการ | 68-L5182-03-4 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก |
วันที่อนุมัติ | 16 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 16 ธันวาคม 2567 - 30 พฤษภาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 27,580.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 33 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 14 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ | 80.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถาบันวิจัยระบบสาธารสุข ได้สนับสนุนการวิจัยในโครงการพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัยซึ่งมีการเก็บข้อมูลเพื่อหาค่าเกณฑ์มาตราฐานการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัยที่สุ่มตัวอย่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั่วทุกภาคของประเทศไทย พบว่าเด็กไทยวัย 2-6 ขวบ มีคะแนนพัฒนาการคิดเชิงบริหาร โดยรวมล่าช้ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยเล็กน้อยไปจนถึงถึงล่าช้ามากเกือบ 30%นอกจากนี้เด็กในวัย 2 – 6 ปีที่เริ่มมีปัญหาพฤติกรรมด้านการคิดเชิงบริหารมากกว่าเกณฑ์เฉลี่ยน้อยกว่าเกณฑ์เล็กน้อยเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการคิดเชิงบริหารจะสัมพันธ์ความอยากลำบากในการควบคุมตัวเอง หุนหันพลันเล่นใจร้อน รอคอยไม่เป็น สมาธิสั้น วอกแวกง่าย และในระยะยาวอาจสงผลเสียต่อการเรียนรู้การทำ งานและการอยู่รวมกับเพื่อนนโยบายของรัฐกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีการพัฒนาการการทางด้านร่างการที่แข็งแรง และอารมณ์ จิตใจมีความเบิกบานมีความกล้าหาญมีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ เคารพกฎ ระเบียบ กติกากิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike เพราะช่วงส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้านทั้งด้านพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ให้แข็งแรงเป็นการฝึกการทรงตัวที่ดีรวมทั้งช่วยฝึกสายตา การแยกสี การประเมินระยะทาง การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทางและการใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดินเพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไปเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพเหมาะสมตามวัย ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่ดีเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีและเจริญเติบโตมีคุณภาพเป็นกำลังในการพัฒนาประเทศชาติ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทากได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแบบบรูณาการด้วยกิจกรรมขาไถขึ้นมา
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มร้อยละของเด็กปฐมวัยที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอเพิ่มขึ้น |
80.00 | 85.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 27,580.00 | 0 | 0.00 | |
25 ธ.ค. 67 | ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก | 0 | 210.00 | - | ||
26 ธ.ค. 67 | อบรมให้ความรู้และส่งเสริมพัฒนาการเด็ก และสาธิตการใช้จักรยานขาไถ | 0 | 2,370.00 | - | ||
26 ธ.ค. 67 | ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยจักรยานขาไถ | 0 | 25,000.00 | - | ||
26 มี.ค. 68 - 30 พ.ค. 68 | ประเมินพัฒนาการสมวัย | 0 | 0.00 | - |
- เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านร่างกายสมวัย มีกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่แข็งแรงมีการทรงตัวที่ดี
- เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์จิตใจ สมวัยมีความเบิกบาน มีความกล้าหาญมีวินัยมีน้ำใจนักกีฬารู้แพ้รู้ชนะ
- ครูและผู้ดูแลเด็กมีคุณภาพสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ตามศักยภาพ
- ครู ผู้ปกครอง และเด็กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุจากการเล่นจักรยานขาไถ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2567 15:25 น.