โครงการสุขภาวะที่ดีชีวีมีสุขของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาแนะ
ชื่อโครงการ | โครงการสุขภาวะที่ดีชีวีมีสุขของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาแนะ |
รหัสโครงการ | 68-L2490-2-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านกาแนะ |
วันที่อนุมัติ | 11 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 20 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 19,857.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอายนี แวมูดอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 156 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนเด็กวัยเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ | 156.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โภชนาการที่ดีเป็นรากฐานที่สำคัญของการมีสุขภาพที่ดีของเด็กในวัยเรียน คือ อนาคตสำคัญของชาติ จึงจำเป็นต้องส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพเนื่องจากเด็กวัยนี้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จึงเป็นโอกาสที่จะส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ หากเด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จะทำให้การเจริญเติบโตไม่ดีและผอม หากขาดอาหารเป็นเวลานานเรื้อรัง จะทำให้เด็กเตี้ย ส่งผลต่อการพัฒนาสมอง โดยระดับสติปัญญาต่ำกว่าเด็กที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ พัฒนาการล่าช้า อีกทั้งเด็กที่มีภาวะเตี้ยมีความเสี่ยงสูงที่จะป่วยเป็นโรคเรื้อรังเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ จากการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาแนะ มีนักเรียนที่อยู่ในสภาวะน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ เนื่องจากไม่รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ชอบรับประทานอาหารกรุบกรอบ น้ำหวาน และไม่รับประทานอาหารกลางวัน จึงทำให้เกิดภาวะน้ำหนักและส่วนสูงน้อยกว่าเกณฑ์ อีกทั้งการดูแลสุขภาพร่างกาย การรักษาความสะอาดของเสื้อผ้า ผม เล็บก็ยังไม่ดี นักเรียนสวมใส่เสื้อผ้าสกปรก ผมยาว เล็บยาว เป็นเหา ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ยังไม่ดี ไม่เหมาะสมกับเด็กในวัยเรียน ซึ่งเด็กในวัยเรียนควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมเกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง และลดภาวะการเกิดเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ ของนักเรียนให้น้อยลง (คน) นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จำนวน 156 คน มีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง มีรูปร่างสมส่วน และรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ และลดภาวะการเกิดเจ็บป่วยจากโรคต่างๆของนักเรียนให้น้อยลง |
156.00 | 156.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 19,857.00 | 0 | 0.00 | 19,857.00 | |
20 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การสุขภาวะที่ดีชีวีมีสุข | 0 | 11,745.00 | - | - | ||
21 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ | 0 | 8,112.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 19,857.00 | 0 | 0.00 | 19,857.00 |
-ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาวะนักเรียนตามฐานการเรียนรู้ต่างๆและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ -นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้เรียนรู้และตระหนักถึงปัญหาสุขภาวะที่ดี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2567 13:31 น.