โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประกอบการใส่ใจ ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2568รพ.สต.บ้านลำพด
ชื่อโครงการ | โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประกอบการใส่ใจ ผู้บริโภคปลอดภัย ปี 2568รพ.สต.บ้านลำพด |
รหัสโครงการ | 68-L5196-02-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ม.7 บ้านโต้นนท์ |
วันที่อนุมัติ | 20 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 20 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 8,970.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวหัทยา พาหุพันโต |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานและยาไม่ปลอดภัยในชุมชน ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆให้แก่ผู้บริโภคใน พื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหารเครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียร์รอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูงจากการสำรวจพบว่าจำนวนร้านชำในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำพด ทั้งหมดจำนวน 15 ร้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านลำพด ได้เล็งเห็นว่าการพัฒนายกระดับร้านขายของชำในหมู่บ้านจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลงไปได้ จึงได้จัดทำโครงการร้านชำปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้และมีทักษะในการเลือกชื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปนอยู่ มีการสำรวจเผ้าระวังเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภค ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้านขายของชำได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ ส่งผลให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัย จากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดโรค การแพ้และอันตรายต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ |
100.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน และ ยาไม่ปลอดภัยในชุมชน ร้านชำปลอดผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตราฐานและยาที่ไม่ปลอดภัย |
100.00 | 100.00 |
2 | 2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค และเฝ้าระวังยาไม่ ปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ได้มาตรฐาน ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ |
100.00 | 100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 8,970.00 | 0 | 0.00 | |
20 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ผู้บริโภคและอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค เรื่องอาหาร ยา และเครื่องสำอางที่ปลอดภัย | 0 | 5,760.00 | - | ||
20 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | มอบป้ายร้านชำคุณภาพ | 0 | 2,250.00 | - | ||
30 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน | 0 | 960.00 | - |
1.ผู้ประกอบการร้านชำรู้จักหลักสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม 2.ผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและจำหน่ายสินค้าที่มีความปลอดภัย ไม่มีสารอันตราย ร้อยละ100 3.ร้านขายของชำในหมู่บ้านเป็นร้านชำที่มีคุณภาพ ร้อยละ 100
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2567 00:00 น.