โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 ”
ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญบุญญา พานิช นายแพทย์ชำนาญการ (ด้านเวชกรรม) รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568
ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8291-01-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 พฤศจิกายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8291-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 พฤศจิกายน 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด เป็นต้น ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูง ในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงยิ่งคัดกรองมากก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยก็มีอัตราเพิ่มขึ้น ดังนั้น แนวทางแก้ไขต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยเริ่มตั้งแต่การคัดกรอง จากนั้นนำมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง ป่วย ในกลุ่มป่วยต้องดำเนินการให้การรักษาต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอจึงต้องบูรณาการให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน จากสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้องรัง (NCDs) ในปัจจุบันด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน พบว่าผู้ป่วยยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ผลการดำเนินงานโรคเบาหวานระหว่าง ปี 2562-2566 พบร้อยละ 28.26, 29.42,29.15, 30.22 และ 31.7 ตามลำดับ (เป้าหมายร้อยละ 40) (ฐานข้อมูล Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 16สิงหาคม 2566) สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ในเขตอำเภอย่านตาขาว จำนวน 3,667 ราย ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ 2,481 ราย คิดเป็นร้อยละ 67.66 ควบคุมระดับน้ำตาลได้ 1,186 ราย คิดเป็นร้อยละ 32.34 และจากการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรอายุมากกว่า 35 ปีในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว ในปี 2566 พบโรคเบาหวานรายใหม่ 40 ราย คิดเป็น 547.95 ต่อแสนประชากร ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลย่านตาขาว ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการติดตาม ยืนยันการวินิจฉัย และเข้าสู่กระบวนการการรักษา นั้น
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลย่านตาขาว เล็งเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดีอย่างยั่งยืน และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการการเกิดโรคเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 5 ชุมชน จำนวน 500 คน
- เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองรับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง เพื่อการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และติดตามดูแล 6 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินโครงการฯ ร่วมกับ อสม.ในชุมชน
- กิจกรรมที่ 2 การตรวจคัดกรองค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 4 ตรวจติดตามภาวะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความโลหิตสูง
- ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองได้รับการแจ้งผลการตรวจประเมินสุขภาวะสุขภาพเบื้องต้น และได้รับการส่งเสริมการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแล ติดตาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 5 ชุมชน จำนวน 500 คน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 500 คน เข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
2. ร้อยละ 90 ของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจติดตามยืนยันการวินิจฉัย
2
เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองรับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง เพื่อการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนผู้เข้ารับการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง รับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง สามารถการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
3
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และติดตามดูแล 6 เดือน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 70 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ที่ได้รับการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีค่าน้ำตาลในเลือด น้อยกว่า 100 mg%
2. ร้อยละ 70 ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีค่าความดันโลหิต น้อยกว่า 135/85 mmHg
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 5 ชุมชน จำนวน 500 คน (2) เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองรับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง เพื่อการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง (3) ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และติดตามดูแล 6 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินโครงการฯ ร่วมกับ อสม.ในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 การตรวจคัดกรองค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 4 ตรวจติดตามภาวะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8291-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเพ็ญบุญญา พานิช นายแพทย์ชำนาญการ (ด้านเวชกรรม) รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 ”
ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญบุญญา พานิช นายแพทย์ชำนาญการ (ด้านเวชกรรม) รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8291-01-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 พฤศจิกายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8291-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 พฤศจิกายน 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด เป็นต้น ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูง ในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงยิ่งคัดกรองมากก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยก็มีอัตราเพิ่มขึ้น ดังนั้น แนวทางแก้ไขต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยเริ่มตั้งแต่การคัดกรอง จากนั้นนำมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง ป่วย ในกลุ่มป่วยต้องดำเนินการให้การรักษาต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอจึงต้องบูรณาการให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน จากสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้องรัง (NCDs) ในปัจจุบันด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน พบว่าผู้ป่วยยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ผลการดำเนินงานโรคเบาหวานระหว่าง ปี 2562-2566 พบร้อยละ 28.26, 29.42,29.15, 30.22 และ 31.7 ตามลำดับ (เป้าหมายร้อยละ 40) (ฐานข้อมูล Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 16สิงหาคม 2566) สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ในเขตอำเภอย่านตาขาว จำนวน 3,667 ราย ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ 2,481 ราย คิดเป็นร้อยละ 67.66 ควบคุมระดับน้ำตาลได้ 1,186 ราย คิดเป็นร้อยละ 32.34 และจากการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรอายุมากกว่า 35 ปีในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว ในปี 2566 พบโรคเบาหวานรายใหม่ 40 ราย คิดเป็น 547.95 ต่อแสนประชากร ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลย่านตาขาว ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการติดตาม ยืนยันการวินิจฉัย และเข้าสู่กระบวนการการรักษา นั้น
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลย่านตาขาว เล็งเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดีอย่างยั่งยืน และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการการเกิดโรคเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 5 ชุมชน จำนวน 500 คน
- เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองรับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง เพื่อการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และติดตามดูแล 6 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินโครงการฯ ร่วมกับ อสม.ในชุมชน
- กิจกรรมที่ 2 การตรวจคัดกรองค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 4 ตรวจติดตามภาวะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความโลหิตสูง
- ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองได้รับการแจ้งผลการตรวจประเมินสุขภาวะสุขภาพเบื้องต้น และได้รับการส่งเสริมการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแล ติดตาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 5 ชุมชน จำนวน 500 คน ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 500 คน เข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 2. ร้อยละ 90 ของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจติดตามยืนยันการวินิจฉัย |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองรับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง เพื่อการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนผู้เข้ารับการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง รับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง สามารถการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง |
|
|||
3 | ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และติดตามดูแล 6 เดือน ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 70 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ที่ได้รับการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีค่าน้ำตาลในเลือด น้อยกว่า 100 mg% 2. ร้อยละ 70 ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีค่าความดันโลหิต น้อยกว่า 135/85 mmHg |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป 5 ชุมชน จำนวน 500 คน (2) เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองรับรู้ถึงภาวะสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง เพื่อการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง (3) ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และติดตามดูแล 6 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินโครงการฯ ร่วมกับ อสม.ในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 การตรวจคัดกรองค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 4 ตรวจติดตามภาวะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่เขตเทศบาลย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8291-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเพ็ญบุญญา พานิช นายแพทย์ชำนาญการ (ด้านเวชกรรม) รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......