กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายวิโรจน์ จันทรัตน์




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5273-5-1 เลขที่ข้อตกลง 2/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5273-5-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้ มีการเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นอุทกภัย วาตภัย หมอกควันจากเผาป่า หรือมลพิษต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสุขภาพของประชาชน หรือโรคติดต่อที่เกิดจากภัยพิบัติ จากน้ำท่วม หรือลมพายุพัด เช่น โรคตาแดง โรคอุจจาระร่วง โรคอหิวาตกโรค โรคน้ำกัดเท้า เชื้อรา หรือโรคติดเชื้อต่าง ๆ อาทิ โรคพิษสุนัขบ้า โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ไข้สมองอักเสบ กาฬโรค มาลาเรีย ไข้หวัดนก โรคซาร์ เป็นต้น หรือแม้แต่โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สาเหตุเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ทำให้เสียสมดุลและเกิดเป็นโรคได้ ดังนั้น เพื่อการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ และป้องกันการเกิดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำหรือโรคติดเชื้อต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นโรคประจำถิ่นไว้ก่อนที่จะเกิดการแพร่ระบาดเป็นสิ่งที่่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในการเฝ้าระวังโรค ซึ่งเป็นเครื่่องมือที่สำคัญในการติดตามสถานการณ์แนวโน้ม และความผิดปกติที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และเมื่อมีระบบเฝ้าระวังที่ดีก็จะส่งผลให้มีการโต้ตอบป้องกันควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ 2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. 2552 มาตรา 67 ที่ อบต.มีอำนาจหน้าที่จัดทำสามารถจำแนกได้ (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 16 มาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ดังนั้น เพื่อเตรียมการช่วยเหลือทางด้านการสาธารณสุขแก่ประชาชนที่ประสบปัญหาภัยพิบัติและป้องกันการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการช่วยเหลือทางด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนที่ประสบปัญหาภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อดำนินการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่จะเกิดขึ้นได้รวดเร็ว และให้การช่วยเหลือแก่ประชาชนได้ทันท่วงทีทั้งด้านเวชภัณฑ์ยาและมิใช่ยา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อเป็นการ เฝ้าระวังควบคุมโรค การระบาดของโรคติดต่อในชุมชน และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน หรือภัยธรรมชาติ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
  2. ข้อ 2.สามารถจัดหาเวชภัณฑ์ยาและไม่ใช่ยา เพื่อช่วยเหลือประชาชนได้อย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุม
  2. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
  3. การป้องกันและควบคุมโรค
  4. จัดประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพร้อม
  5. เตรียมวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ยาและไม่ใช่ยา
  6. ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังภัยพิบัติและภัยสุขภาพ
  7. การดำเนินป้องกันและควบคุมโรค และการรณรงค์ป้องกันราย Case

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8,040
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคการระบาดของโรคติดต่อในชุมชน และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน หรือภัยธรรมชาติ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ที่ประสบปัญหาภัยพิบัติต่าง ๆ ในพื้นที่ได้ 2.สามารถจัดหาเวชภัณฑ์ยาและไม่ใช่ยา เพื่อช่วยเหลือประชาชนได้อย่างทันท่วงที


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อเป็นการ เฝ้าระวังควบคุมโรค การระบาดของโรคติดต่อในชุมชน และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน หรือภัยธรรมชาติ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่ ได้รับการดูแลสุขภาพเพื่อลดปัญหาการเจ็บป่วยได้ครอบคลุมและทั่วถึง 100% ของผู้ได้รับผลกระทบ

 

2 ข้อ 2.สามารถจัดหาเวชภัณฑ์ยาและไม่ใช่ยา เพื่อช่วยเหลือประชาชนได้อย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ครอบคลุมและทั่วถึง 100% ของผู้ได้รับผลกระทบ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 8040
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8,040
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อเป็นการ เฝ้าระวังควบคุมโรค การระบาดของโรคติดต่อในชุมชน และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน หรือภัยธรรมชาติ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (2) ข้อ 2.สามารถจัดหาเวชภัณฑ์ยาและไม่ใช่ยา เพื่อช่วยเหลือประชาชนได้อย่างทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุม (2) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ (3) การป้องกันและควบคุมโรค (4) จัดประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพร้อม (5) เตรียมวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ยาและไม่ใช่ยา (6) ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังภัยพิบัติและภัยสุขภาพ (7) การดำเนินป้องกันและควบคุมโรค และการรณรงค์ป้องกันราย Case

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5273-5-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิโรจน์ จันทรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด