โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68 -L3017 -04 -01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองทุนสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลปุยุด |
วันที่อนุมัติ | 1 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 108,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ว่าที่ ร.ต.อนรรฆ อิสเฮาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอัลฟาน กาแม |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 48 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การบริหารจัดการและการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนมากที่สุดมีการบริหารจัดการกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงานโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ซึ่งสามารถจัดการปัญหาด้านสุขภาพในระดับท้องถิ่นที่ได้นั้นคณะกรรมการกองทุนและแกนนำชุมชนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรู้บทบาทของคณะบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้สามารถศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันวางแผนในการแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปูยุด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปูยุด ขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเกิดประสิทธิผลกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปูยุดเพื่อดูการดำเนินงานด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นวิทยาศาสตร์เชิงเกษตรและจัดการสุขภาพที่ได้รับการสนับสนุนดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์จากกองทุนต้นแบบที่ประสบผลสำเร็จ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ (๑๔ คน) |
0.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน 1.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 80 % |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 108,900.00 | 0 | 0.00 | |
1 พ.ย. 67 - 8 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 1 การบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลปูยุด | 0 | 80,800.00 | - | ||
1 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการกองทุนฯ (เช่น การประชุม อบรม สัมมนา เป็นต้น) | 0 | 8,000.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 2 ประชุมจัดทำแผนสุขภาพ และพัฒนาการเขียนโครงการ | 0 | 20,100.00 | - |
1.คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน มีศักยภาพในการจัดการ และดำเนินการ 2.ทุกหน่วยงานสามารถร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ และร่วมดำเนินการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ เกษตรและจัดการสุขภาพที่ได้รับการสนับสนุนดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์จากกองทุนต้นแบบที่ประสบผลสำเร็จ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ต.ค. 2567 00:00 น.