โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 ”
ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลฮามิ ดอเล๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2518-3-13 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2518-3-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 231,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายๆด้านทั้งทางร่างกาย ทางสมอง ทางอารมณ์และทางสังคม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ให้การดูแลและความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆดังกล่าวซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุปรับตัวได้ดีลูกหลานหรือผู้ใกล้ชิดจึงมีส่วนสำคัญมากในการช่วยให้ผู้สูงอายุ ในครอบครัวใช้ชีวิตได้อย่างมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุขกายสุขใจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิตแต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้ายหมายคือต้วผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในโดยเฉพาะเรื่องการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย การดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งสุขภาพกายสุขภาพจิตเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ
ชมรมผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับในทุกๆ ด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี2568เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้ ช่วยทำให้การมีอายุยืนยาวมีความสุขทั้งทางกาย ใจ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
- เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและมีความสุข
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
- เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจคัดกรองความดัน,เบาหวาน และตรวจสุขภาพเบื้องต้น
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
720
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
2. ผู้สูงอายุในตำบลกายูคละมีขวัญและกำลังใจในการประกอบคุณงามความดีให้แก่สังคมต่อไป
3. ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
4. ชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวร้อยละ 100
720.00
720.00
2
เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและมีความสุข
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ มีกำลังใจและทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100
0.00
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน ร้อยละ 80
0.00
4
เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
720
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
720
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว (2) เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและมีความสุข (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน (4) เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองความดัน,เบาหวาน และตรวจสุขภาพเบื้องต้น (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2518-3-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลฮามิ ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 ”
ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลฮามิ ดอเล๊าะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2518-3-13 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2518-3-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 231,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายๆด้านทั้งทางร่างกาย ทางสมอง ทางอารมณ์และทางสังคม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ให้การดูแลและความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆดังกล่าวซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุปรับตัวได้ดีลูกหลานหรือผู้ใกล้ชิดจึงมีส่วนสำคัญมากในการช่วยให้ผู้สูงอายุ ในครอบครัวใช้ชีวิตได้อย่างมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุขกายสุขใจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิตแต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้ายหมายคือต้วผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในโดยเฉพาะเรื่องการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย การดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งสุขภาพกายสุขภาพจิตเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับในทุกๆ ด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี2568เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้ ช่วยทำให้การมีอายุยืนยาวมีความสุขทั้งทางกาย ใจ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
- เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและมีความสุข
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
- เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจคัดกรองความดัน,เบาหวาน และตรวจสุขภาพเบื้องต้น
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 720 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว 2. ผู้สูงอายุในตำบลกายูคละมีขวัญและกำลังใจในการประกอบคุณงามความดีให้แก่สังคมต่อไป 3. ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน 4. ชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวร้อยละ 100 |
720.00 | 720.00 |
|
|
2 | เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและมีความสุข ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ มีกำลังใจและทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีความต่อเนื่องและยั่งยืน ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 720 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 720 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว (2) เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและมีความสุข (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน (4) เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลกายูคละมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองความดัน,เบาหวาน และตรวจสุขภาพเบื้องต้น (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสูงวัยใจเกินร้อย ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2518-3-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลฮามิ ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......