โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคจากภัยพิบัติน้ำท่วมตำบลจะบังติกอ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 5)
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคจากภัยพิบัติน้ำท่วมตำบลจะบังติกอ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 5) |
รหัสโครงการ | 68-L7884-5-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์บริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี |
วันที่อนุมัติ | 27 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 27 พฤศจิกายน 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 99,833.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางชนดา อภิรักษากุล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เนื่องจากจังกวัดปัตตานีได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคุลมอ่าวไทย และภาคใต้มีกำลังแรงทำให้เกิดฝนตกหนักถึงหนักมาในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำต้นตลิ่งทั้งนี้พื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานีได้รับผลกระทบจากอิทธิพลฯ ดังกล่าว เกิดภาวะน้ำท่วมขังบ้านเรือน พื้นที่ครอบคุลมทั้ง 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลจะบังติกอ ตำบลอาเนาะรู และตำบลสะบารัง ทำให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับความเดือดร้อน ทรัพย์สิน ที่อยู่อาศัย ได้รับความเสียหาย ไม่สะดวกต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ คือโรคทางเดินอาหารจากน้ำดื่ม/รับประทานอาหารที่ปนเปื้อน เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคผิวหนัง เช่น น้ำกัดเท้า โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัด การระบาดของโรคฉี่หนู โรคตาแดง โรคไข้เลือดออก อุบัติเหตุและการถูกสัตว์ร้ายมีพิษกัดต่อย ปัญหาสุขภาพจิต มีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสียทรัพย์สิน เป็นต้น
ดังนััน ศูนย์บริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคจากภัยพิบัติน้ำท่วมตำบลจะบังติกอ ปีงบประมาณ 2568 เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดชึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้ว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปัตตานี ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2567 ข้อที่ 10 (5) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามควมาจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติอุทกภัยได้รับการดูแล/แก้ไขปัญหาสุขภาพตามความจำเป็น 2. เพื่อให้ประชาชนได้รับการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดขึ้นหลักอุทกภัย
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
- เสนอโครงการต่อกองทุนฯ
- ประชุมวางแผนทีมทำงานำด้แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อ.ส.ม. ชุมชน ฯลฯ
- จัดทีมเยี่ยมสำรวจปัญหาสุขภาพประชาชนในพื้นที่ (เน้นกลุ่มยากไร้ มีโรคเรื้อรัง คนพิการ ผู้สูงอายุ)
- รายงานข้อมูลสภาพปัญหาสุขภาพให้ อปท. พื้นที่และจัดทำแผนดูแล/ช่วยเหลือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ฯลฯ ช่วงอุทกภัย
- เยี่ยมผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลด้านสุขภาพช่วงอุทกภัย
- จัดหายา/เวชภัณฑ์เพื่อจัดบริการในชุมชนช่วงอุกทกภัย ได้แก่ ยาสามัญประจำบ้าน เช่น ยาทา รักษาโรคน้ำกัดเท้า ยาทาแก้คัน ยาลดไข้ น้ำเกลือแร่ ชุดทำแผล ฯลฯ
- ลงพื้นที่ให้คำแนะนำการจัดระบบสุขาภิบาลและสิ่งแวดฃ้อมหลังอุทกภัย
- สรุปและประเมินผลโครงการรายงานต่อคณะกรรมการกองทุนฯ
- ประชาชนในพื้นที่น้ำท่วมหรือภัยพิบัติที่ป่วยหรือบาดเจ็บได้รับการรักษาทันท่วงที
- ประชนในพื้นที่น้ำท่วมหรือภัยพิบัติได้รับการส่งเสริมป้องกันโรคทันต่อเหตุการณ์
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ย. 2567 12:31 น.