กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร


“ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 ”

ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายยาห์ยา อะยูยา

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2477-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2477-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์การกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสม และการโฆษนาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีการเผยแพร่ในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะในร้านชำ พบว่าในบางพื้นที่ร้านชำจำหน่ายยาอันตรายที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้าน มากกว่าร้อยละ 75 การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่ากลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคอื่นๆในชุมชน มีรายงานการใช้ผลิตภัณฑ์ที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง ในชุมชนเป็นจำนวนมาก จากการสำรวจการขายยาอันตรายในตำบลผดุงมาตรจำนวน 6 หมู่บ้าน พบมีการจำหน่ายยาอันตรายในทุกหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นยาแก้อักเสบหรือยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) และยาชุด ซึ่งทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงและอันตรายจากการใช้ยาทำให้เกิดการดื้อยาเป็นการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลและเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ทั้งนี้คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอจะแนะ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตรและภาคีเครือข่ายด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในอำเภอจะแนะ ได้ดำเนินโครงการชุมชนยุคใหม่ร่วมใจคุ้มตรองผู้บริโภค เพื่อพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ร้านชำภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย
  2. 2.เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม.ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบร้านชำ
  2. จัดประกวดร้านชำสะอาด ปลอดยาอันตราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในเขตพื้นที่เป้าหมายได่บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารเคมีและสิ่งปนเปื้อน 2.ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง อันจะส่งผลให้มีสุขภาพแข็งแรงและปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ 3.ร้านชำในพื้นที่เป็นร้านปลอดยาอันตราย 4.ประชาชนในพื้นที่สามารถเลิกซื้อยาอันตรายกินเอง 5.มีเครือข่ายเฝ้าระวังการขายยาอันตรายในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบร้านชำ

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบร้านชำ
  • เจ้าหน้าที่ลงตรวจร้านชำในพื้นที่พร้อมกับอาสาสมัครสาธารณสุข
  • แจกสื่อประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ประกอบการร้าน และประชาชนในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง อันจะส่งผลให้มีสุขภาพแข็งแรงและปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
  • ร้านชำในพื้นที่เป็นร้านปลอดยาอันตราย
  • ประชาชนในพื้นที่สามารถเลิกซื้อยาอันตรายกินเอง

 

50 0

2. จัดประกวดร้านชำสะอาด ปลอดยาอันตราย

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดประกวดร้านชำสะอาด ปลอดยาอันตราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีเครือข่ายเฝ้าระวังการขายยาอันตรายในชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและแกนนำในมาตรฐานของร้านชำและเรื่องยาอันตราย จำนวน ๕๐ คน
  • ตรวจและให้คำแนะนำร้านชำ ในเขตพื้นที่ ทั้งหมด จำนวน ๓๐ ร้าน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๐ ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๖๖
  • มอบป้ายประกาศแก่ร้านที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำ
  • จัดประกวดร้านชำสะอาด ปลอดยาอันตราย ในเขตตำบลผดุงมาตร จำนวน ๓๐ ร้าน และมอบรางวัลในการประกวดจำนวน ๕ ร้านดั่งนี้ สรุปรายชื่อผู้ประกอบการร้านชำที่ได้รับรางวัลการประกวดร้านชำสะอาด ปลอดยาอันตรายในเขตพื้นที่ รางวัลชนะเลิศ นางนูรีดา  มะดือราแว รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ ๑ นางสาวนูรอามานี อาแว รางวัลรองชนะเลิศลำดับที่ ๒ นางสุมาลี จันทร์วิเศษ รางวัลชมเชย นางรอกีเยาะ อาลี รางวัลชมเชย นางมาวาลา  มีนา งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๙,๑๙๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๙,๑๙๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
    ในการดำเนินกิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ร้านชำภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 1.ร้านชำในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจ ร้อยละ 100

 

2 2.เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม.ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ร้านชำภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย (2) 2.เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม.ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบร้านชำ (2) จัดประกวดร้านชำสะอาด ปลอดยาอันตราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2477-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยาห์ยา อะยูยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด