โครงการเทศบาลใส่ใจ แก้ปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย
ชื่อโครงการ | โครงการเทศบาลใส่ใจ แก้ปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย |
รหัสโครงการ | 68-L8286-5-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม |
วันที่อนุมัติ | 3 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 ธันวาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 60,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางฮาดีบะห์ กาซอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายการียา ยือแร |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.769,101.299place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 0.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (60,000.00 บาท)
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ตามที่ร่องความกดอากาศต่ำเคลือนทีผ่านอ่าวไทยและภาคใต้ ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยในพื้นทีภาคใต้ระหว่างวันที 26 พฤศจิกายน 2567 - 5 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้นโดยเฉพาะจังหวัดตรังพัทลุง นราธิวาส ปัตตานี ตลอดจนพื้นที่จังหวัดสงขลาบางส่วนนั้น จากสถานการณ์เกิดฝนตกหนักทำให้เกิดภัยพิบัติอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนหลายพื้นที่ในจังหวัดปัตตานี ทั้งนี้พื้นที่เทศบาลตำบลยะรัง มีประชาชนจำนวนมากได้รับความเดือดร้อน ทรัพย์สิน ที่อยู่อาศัยได้รับความเสียหาย ไม่สะดวกต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนพื้นที่ตำบลบางขุนทองเป็นพื้นที่ประสบภัยดังกล่าว จึงสามารถให้มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม ตลอดจนถึงการป้องกันและแก้ปัญหาโรคหรือสุขภาพที่เกิดขึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้ว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่/ท้องถิ่น ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2557 ข้อ7(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลยะรังมีความตระหนักในปัญหาสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ คือ โรคทางเดินอาหารจากการดื่มน้ำ/รับประทานอาหารที่ปนเปื้อนหรือแหล่งน้ำ/บ่อน้ำบริโภคถูกน้ำท่วม ส่งผลต่อการขาดแคลนน้ำดื่มโรคผิวหนัง เช่น น้ำกัดเท้าการระบาดของโรคฉี่หนู โรคไข้เลือดออก ปัญหาสุขภาพจิต มีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสียญาติพี่น้องหรือทรัพย์สินจากปัญหาสุขภาพดังกล่าวจึงจำเป็นต้องดำเนินการบรรเทาและป้องกันผลกระทบจากภัยพิบัติในครั้งนี้ด้วยความรวดเร็วทันต่อสถานการณ์
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติอุทกภัยได้รับการดูแล/แก้ปัญหาสุขภาพตามความจำเป็น ประชาชนในพิ้นที่เทศบาลตำบลยะรัง จำนวน 5 ชุมชน จำนวน 1390 ครัวเรือน และจำนวนประชากร 5180 คน |
||
2 | 2. เพื่อปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน) |
||
3 | 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดขึ้นหลังอุทกภัย ร้อยละ 90 ของครัวเรือนในพื้นที่ได้้รับการเยี่ยมสำรวจ |
3.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ธ.ค. 67 | ม.ค. 68 |
---|---|---|---|---|
1 | เยี่ยมให้กำลังใจผู้ที่ได้รับผลกระทบสุขภาพด้านสุขภาพช่วงอุทกภัย(3 ธ.ค. 2567-31 ม.ค. 2568) | 60,000.00 | ||
รวม | 60,000.00 |
1 เยี่ยมให้กำลังใจผู้ที่ได้รับผลกระทบสุขภาพด้านสุขภาพช่วงอุทกภัย | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 500 | 60,000.00 | 0 | 0.00 | 60,000.00 | |
18 - 31 ธ.ค. 67 | แจกจ่ายยาสามัญประจำบ้านให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบสุขภาพ | 500 | 60,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 500 | 60,000.00 | 0 | 0.00 | 60,000.00 |
1.ลดความเจ็บป่วยที่จะเกิดโรคหลังภัยพิบัติอุกภัย
2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวเบื้องต้นได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2567 12:52 น.