โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L3310-4-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
วันที่อนุมัติ | 3 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 138,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | สำนักเลขานุการ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.442766199,100.1320688place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 0.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (138,000.00 บาท)
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่น เป็นกองทุนที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานขององค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่น
ในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เน้นการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสามารถให้การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมใน ๕ ลักษณะ คือ
๑. สนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
๒. สนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
๓. สนับสนุนศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ผู้พิการ
๔. ค่าบริหารจัดการกองทุน
๕. สนับสนุนกรณีเกิดภัยพิบัติหรือโรคระบาด
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 1.ประชุมกรรมการและคณะอนุกรรมการ ฯ | 40 | 20,000.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 2.การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่เกี่ยวข้องเช่น ไปประชุม สัมมนา อบรม ฯ | 60 | 25,000.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 3.จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานและการจัดทำแผนสุขภาพฯกองทุนสุขภาพตำบล | 0 | 65,000.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 4.ประชุมอนุกรรมการ LTCและคณะทำงาน 2 ครั้ง | 0 | 10,000.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 5.ค่าวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่จำเป็น เช่น ชั้นวางเอกสาร อุปกรณ์อิเลคทรอนิค ฯ | 0 | 10,000.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 6. กิจกรรมย่อยนำเสนอโครงการเด่น best practice | 0 | 8,000.00 | - | ||
รวม | 100 | 138,000.00 | 0 | 0.00 |
- คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล จัดประชุมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
- โครงการ/กิจกรรมด้านสุขภาพได้รับการอนุมัติจนเงินกองทุน เหลือไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินทั้งหมด
- คณะกรรมการบริหารกองทุนมีศักยภาพเกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล
- เกิดแผนสุขภาพตำบลที่มีความครอบคลุมด้านการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2567 13:58 น.