กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเรามาก้าวด้วยกัน ๙เพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 68-L8412-012-002
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลท่าสาป
วันที่อนุมัติ 27 พฤศจิกายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 113,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวฟารีดา ทิวาสมาน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.538,101.235place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เทศบาลตำบลท่าสาปมีพื้นที่ในความรับผิดชอบ จำนวน 6 หมู่บ้าน พบว่า ในปีงบประมาณ 2566  เทศบาลตำบลท่าสาปมีประชากรรวมทั้งหมด 8,161 คน มีผู้สูงอายุ รวม 612 คน คิดเป็นร้อยละ 7.49    ของประชากรทั้งหมด และในปีงบประมาณ 2567 เทศบาลตำบลท่าสาปมีประชากรรวมทั้งหมด 8,210 คน      มีผู้สูงอายุ รวม 792 คน คิดเป็นร้อยละ 9.65 ของประชากรทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ 60 - 69 ปี จำนวน 413 คน คิดเป็นร้อยละ 52.15 ของผู้สูงอายุทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ 70 – 79 ปี จำนวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ 32.19 ของผู้สูงอายุทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ 80 – 89 ปี จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 13.00    และผู้สูงอายุที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 2.65 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด      (ที่มา: ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ จังหวัดยะลา ปี 2567) และข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลท่าสาป    ในปี 2567 พบว่า มีผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจำนวน 69 คน จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจำนวนผู้สูงอายุ    ในพื้นที่เทศบาลตำบลท่าสาปมีจำนวนเพิ่มขึ้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ควรพัฒนาให้ครบทั้ง 9 ประการ เพื่อชีวิตสดใส ได้แก่ (1) อาบน้ำทุกวัน แปรงฟันสะอาด อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง (2) กินอาหารสุกสะอาด วันละ 3 มื้อ ให้ครบ 5 หมู่ (3) ออกกำลังกาย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละนิดไม่เกิน 30 นาที (4) ดื่มน้ำสุกสะอาด อย่าให้ขาดวันละ 6-8 แก้ว (5) พักผ่อนให้เพียงพอ วันละ 6-8 ชั่วโมง ปลอดโปร่งแจ่มใส      (6) งดสิ่งเสพติด คบหาญาติมิตรใกล้ชิดครอบครัว (7) ดูแลบ้านเรือน ของใช้ เสื้อผ้า ให้สะอาดน่าใช้      (8) ตรวจสุขภาพให้ถ้วนถี่ ปีละครั้งเป็นอย่างน้อย (9) ฝักใฝ่ในธรรม ประกอบกรรมดี อารีต่อทุกคน โดยเฉพาะสุขภาพในด้านร่างกาย ให้ความสำคัญกับสุขภาพ ให้มีการออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง การพัฒนาทางด้านอารมณ์ ได้แก่ การสร้างเสริมสุขภาพจิตที่ดี รู้จักควบคุมอารมณ์การทำงานอดิเรกที่ชื่นชอบ การเข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการ การฝึกสมาธิ การพัฒนาด้านสังคม อันได้แก่  การเข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อน การใช้เวลาว่างบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน การปฏิบัติตนโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม การเข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อน การใช้เวลาว่างบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน การปฏิบัติตนโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และการพัฒนาทางด้านสติปัญญา ได้แก่ การเพิ่มทักษะทางด้านความรู้ให้กับตนเอง    การเข้ารับการอบรม เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลท่าสาป ได้ตระหนักถึงเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเรามาก้าวด้วยกัน ๙เพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 256๘    เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีให้กับผู้สูงอายุอย่างยั่งยืนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

 

2 2. เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์/จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ต่อเนื่องให้กับผู้สูงอายุ

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องในชุมชน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ย. 67ธ.ค. 67ม.ค. 68ก.พ. 68มี.ค. 68เม.ย. 68พ.ค. 68มิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68ก.ย. 68
1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ(27 พ.ย. 2567-31 ธ.ค. 2567) 0.00                      
2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง รวม 10 ครั้ง(27 พ.ย. 2567-30 ก.ย. 2568) 0.00                      
3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมออกกำลังกาย ทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง รวม 10 ครั้ง(27 พ.ย. 2567-30 ก.ย. 2568) 0.00                      
4 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ถอดบทเรียน(1 ก.ย. 2568-10 ก.ย. 2568) 0.00                      
รวม 0.00
1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง รวม 10 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมออกกำลังกาย ทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง รวม 10 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
4 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ถอดบทเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
รวมทั้งสิ้น 0 0.00 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ได้บุคคลต้นแบบในพื้นที่ตำบลท่าสาป ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
      2. กลุ่มเป้าหมายได้ทบทวนตนเอง รู้สาเหตุและมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ร้อยละ 100   3. กลุ่มเป้าหมายสามารถถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ        ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ ร้อยละ 80
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2567 14:16 น.