โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม |
รหัสโครงการ | 68 - L2480 - 5 - 01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก |
วันที่อนุมัติ | 4 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 4 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 90,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวันซูลกัรนัย หะยีมะปีเยาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากสถานการณ์เกิดฝนตกหนักทำให้เกิดภัยพิบัติอุทกภัย ซึ่งทำให้หลายพื้นที่ในตำบลมะรือโบออกเกิดน้ำท่วมเฉียบพลัน และส่งผลให้เกิดความเดือนร้อนแก่ประชาชนในตำบลมะรือโบออก ทั้งนี้พื้นที่ตำบลมะรือโบออกมีประชาชนจำนวนมากได้รับความเดือนร้อน ทรัพย์สิน ที่อยู่อาศัยได้รับความเสียหายรวมถึงมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกมีความตระหนักในปัญหาสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ คือ โรคทางเดินอาหารจากการดื่มน้ำ/รับประทานอาหารปนเปื้อนหรือแหล่งน้ำ/บ่อน้ำบริโภคถูกน้ำท่วม โรคผิวหนัง เช่น น้ำกัดเท้า โรคติดต่อนำโดยแมลง เช่น โรคไข้เลือดออก โรคฉี่หนู ปัญหาสุขภาพจิต จากปัญหาสุขภาพดังกล่าวจึงสามารถให้มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม ตลอดจนถึงการป้องกันและแก้ปัญหาโรคหรือสุขภาพที่เกิดขึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้ว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่/ท้องถิ่น ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 ข้อ 10(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม (ร้อยละ) 80 ร้อยละ 80 สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 90,000.00 | 0 | 0.00 | |
4 ธ.ค. 67 - 30 ก.ย. 69 | 1. สำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบ | 0 | 0.00 | - | ||
4 ธ.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 2. เยี่ยมติดตาม | 0 | 90,000.00 | - | ||
4 ธ.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 3. ให้สุขศึกษาเกี่ยวกับโรคที่มาจากน้ำท่วม | 0 | 0.00 | - |
- ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ
- ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2567 00:00 น.