กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระหวะ


“ โครงการ เฝ้าระวังพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนตำบลกระหวะ ปี 2561 ”

ตำบลกระหวะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอฮีดะหามะ

ชื่อโครงการ โครงการ เฝ้าระวังพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนตำบลกระหวะ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกระหวะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3000-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เฝ้าระวังพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนตำบลกระหวะ ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกระหวะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระหวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เฝ้าระวังพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนตำบลกระหวะ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เฝ้าระวังพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนตำบลกระหวะ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกระหวะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3000-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระหวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ทั้งในระดับประเทศและระดับจังหวัด สถานการณ์ประเทศไทยซึ่งผลจากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ประเทศไทยพบผู้ป่วย 43,969 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 67.20 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 57 คน คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.13 ส่วนสถานการณ์โรคภาคใต้มีรายงานผู้ป่วย 11,016 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 119.10 ต่อประชากรแสนคน จังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุดได้แก่ จังหวัดสงขลา ( 201.50 ) รองลงมาคือจังหวัดพัทลุง ( 181.18 ) จังหวัดนราธิวาส (129.53)และจังหวัดปัตตานี( 126.50 ) มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 1 คน คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.11 พบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง อัตราส่วนเท่ากับ 1 : 0.97ในปีพ.ศ. 2560 กลุ่มอายุที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี และ15 - 24ส่วนอาชีพที่พบจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน ร้อยละ 47.41 รองลงมาคือ รับจ้าง (18.72) และไม่ทราบอาชีพ (17.65) ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างปกติจะมีการระบาดของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในช่วงฤดูฝนคือเดือนพฤษภาคม ถึง สิงหาคม ในปีพ.ศ. 2560 มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก เมื่อเปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน พ.ศ. 2555 – 2560 ซึ่งพบว่าในช่วงต้นปีอัตราป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐาน จึงต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันการระบาดในช่วงฤดูฝน สถานการณ์ไข้เลือดออกอำเภอมายอ ปี 2560 มีรายงานผู้ป่วยจำนวน 238 รายคิดเป็นอัตราป่วย 127.70ต่อประชากรแสนคน(เกณฑ์จังหวัด 51.40ต่อประชากรแสนคน) ส่วนสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตำบลกระหวะ พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในปี 2556 จำนวน 2 ราย ปี ๒๕๕๗ จำนวน 8 ราย ปี 2๕๕๘ จำนวน 2 ราย ปี 25๕๙ จำนวน 1 ราย และปี๒560 พบผู้ป่วยผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 13 ราย จากรายงานสถานการณ์ของโรคทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอมายอพบว่ามีการระบาดทุกปีจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในทุกพื้นที่ทุกหลังคาเรือนในเขตรับผิดชอบจำเป็นต้องร่วมมือร่วมใจกันทำจึงจะส่งผลต่อการป้องกันและควบคุมโรคได้อย่างแท้จริง และจำเป็นต้องเฝ้าระวังและป้องกันโรคอย่างต่อเนื่องโดยการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระหวะร่วมกับองค์กรเครือข่ายสร้างสุขภาพภาคประชาชนภาครัฐและภาคท้องถิ่น จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรคและสนับสนุนการแก้ปัญหาสาธารณสุขควบคู่ไปกับการป้องกันโรคเพื่อสู่เป้าหมายของเมืองไทยสุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกและการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  2. 2. ทำให้ประชาชนมีความตระหนักในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  3. 3. ลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ร้อยละ 80 ของประชาชนตำบลกระหวะมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

    2.ร้อยละ 80 ของประชาชนตำบลกระหวะมีความตระหนักในพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

    3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกและการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. ทำให้ประชาชนมีความตระหนักในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. ลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกและการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (2) 2. ทำให้ประชาชนมีความตระหนักในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ (3) 3. ลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ เฝ้าระวังพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนตำบลกระหวะ ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3000-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอฮีดะหามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด