โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ ”
ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ
ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนาและเป็นสังคมผู้สูงอายุเช่นเดียวกับประเทศอื่นทั่วโลก โดยในปี พ.ศ.
๒๕๖๖๖ ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ที่มีสัดส่วนประชากรที่มีอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีบริบูรณ์ จำนวนร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งประเทศ คือ มีจำนวนผู้สูงอายุ ๑๓,๐๖๘,๑๙๐ คน จากจำนวนประชากรทั้งประเทศ
๖๖,๐๖๑,๑๙๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๘ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีสัดส่วน
วัยแรงงานลดลงและประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้สูงอายุมักมีปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเจ็บป่วยด้วยโรค
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างต้านร่างกายที่เสื่อมถอยลงของผู้สูงอายุ จึงส่งผลต่ออัตราส่วนการพึ่งพิงที่สูงขึ้นในปัจจุบัน
ทุพพลภาพสูงขึ้นถึงร้อยละ ๑.๕ ประกอบกับจึงทำให้ร้องคือกรอสสุดอายุในที่นที่มีควบนั้น ๑ ล้าน เพื่อกับทาที่อาร์ออกรอการภารมไคภามศักฯ าหรือการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ เพิ่มขึ้น การคัดกรอง ๙ ด้าน ประกอบด้วยการคัดกรอง ดังนี้ ๑) ด้านการมองเห็น ๒) ด้านกลั้นปัสสาวะ ๓) การได้ยิน ๔) การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ๕) ความคิดความจำ ๖) ภาวะซึมเศร้า ๗) การเคลื่อนไหว8) สุขภาพช่องปาก ๙ ด้านในปัจจุบันมีความจำเป็นกับการใช้ชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุโดยเฉพาะการคัดกรองด้านการเคลื่อนไหว หากค้นพบความเสี่ยงหรือความผิดปกติได้เร็วก็จะสามารถป้องกันอุบัติเหตุและความเจ็บป่วย
จากสถิติการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุตั้งแต่ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ มีผู้สูงอายุพลัดตกหกล้ม ถึง ๕.๕ ๕ ล้านคนต่อปี
บันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, ๒๕๖๕) และข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ ที่
จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด ๑,๑๖๑ คน ผู้สูงอายุในพื้นที่มีภาวะการหกลัม กระดูกละโพกหัก จำนวน ๑๕ คน รักษาตัด
เดินได้กลับมา ๑๐ คน มีภาวะติดเตียง ๓ คน ติดบ้าน ๕ คน ซึ่งสาเหตุมาจากสาเหตุหลายปัจจัย จากการที่ผู้สูงอายุสภาพร่างกายที่เปลี่ยนไป ซึ่งปัจจัยด้านสภาพร่างกายที่เปลี่ยนไปมีผลต่อการเคลื่อนไหวด้วยอายุที่มากขึ้นสภาพร่างกายที่เสื่อมลง ประกอบกับมวลกล้ามเนื้อน้อย การทรงตัวที่ไม่มั่นคง โรคข้อเข่าเสื่อมเรื้อรัง ขาดสารอาหาร อีกทั้งสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกบ้าน มีผลทำให้เกิดภาวะของการหกล้มง่าย และเกิดภาวะพึ่งพึ่งพิงตามมา ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอยู่ใหญ่จึงเล็งเห็นควานสำคัญเหล่านี้ จึงได้จัดทำใครงการนี้ขึ้นเพื่อประโยชน์แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหกล้มในผู้สูงอายุและลดการเกิดภาวะกระดูกหักในผู้สูงอายุ
- เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและ ภาวะการทรงตัวที่ดีของผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ถ่ายทอดความรู้แก่ผู้สูงอายุเกี่ยวกับภาวะการหกล้ม การป้องกันดูแลตนเอง
- อบรมเชิงปฏิบัติการโดยฝึกออกกำลังสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ประเมินและคัดกรอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหกล้มในผู้สูงอายุและลดการเกิดภาวะกระดูกหักในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการประเมินได้รับการประเมินสมรรถภาพทางกายผู้สูงอายุ (ตามเกณฑ์ของกองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามั้ย กระทรวงสาธารณสุข) อยู่ในเกณฑ์ปกติ
40.00
0.00
2
เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและ ภาวะการทรงตัวที่ดีของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประเมินสมรรถภาพกล้ามเนื้อก่อนและหลังอบรม ร้อยละ ๑๐๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหกล้มในผู้สูงอายุและลดการเกิดภาวะกระดูกหักในผู้สูงอายุ (2) เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและ ภาวะการทรงตัวที่ดีของผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ถ่ายทอดความรู้แก่ผู้สูงอายุเกี่ยวกับภาวะการหกล้ม การป้องกันดูแลตนเอง (2) อบรมเชิงปฏิบัติการโดยฝึกออกกำลังสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ประเมินและคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ ”
ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนาและเป็นสังคมผู้สูงอายุเช่นเดียวกับประเทศอื่นทั่วโลก โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๖๖ ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ที่มีสัดส่วนประชากรที่มีอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีบริบูรณ์ จำนวนร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งประเทศ คือ มีจำนวนผู้สูงอายุ ๑๓,๐๖๘,๑๙๐ คน จากจำนวนประชากรทั้งประเทศ ๖๖,๐๖๑,๑๙๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๘ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีสัดส่วน วัยแรงงานลดลงและประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้สูงอายุมักมีปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเจ็บป่วยด้วยโรค การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างต้านร่างกายที่เสื่อมถอยลงของผู้สูงอายุ จึงส่งผลต่ออัตราส่วนการพึ่งพิงที่สูงขึ้นในปัจจุบัน ทุพพลภาพสูงขึ้นถึงร้อยละ ๑.๕ ประกอบกับจึงทำให้ร้องคือกรอสสุดอายุในที่นที่มีควบนั้น ๑ ล้าน เพื่อกับทาที่อาร์ออกรอการภารมไคภามศักฯ าหรือการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ เพิ่มขึ้น การคัดกรอง ๙ ด้าน ประกอบด้วยการคัดกรอง ดังนี้ ๑) ด้านการมองเห็น ๒) ด้านกลั้นปัสสาวะ ๓) การได้ยิน ๔) การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ๕) ความคิดความจำ ๖) ภาวะซึมเศร้า ๗) การเคลื่อนไหว8) สุขภาพช่องปาก ๙ ด้านในปัจจุบันมีความจำเป็นกับการใช้ชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุโดยเฉพาะการคัดกรองด้านการเคลื่อนไหว หากค้นพบความเสี่ยงหรือความผิดปกติได้เร็วก็จะสามารถป้องกันอุบัติเหตุและความเจ็บป่วย จากสถิติการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุตั้งแต่ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ มีผู้สูงอายุพลัดตกหกล้ม ถึง ๕.๕ ๕ ล้านคนต่อปี บันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, ๒๕๖๕) และข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ ที่ จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด ๑,๑๖๑ คน ผู้สูงอายุในพื้นที่มีภาวะการหกลัม กระดูกละโพกหัก จำนวน ๑๕ คน รักษาตัด เดินได้กลับมา ๑๐ คน มีภาวะติดเตียง ๓ คน ติดบ้าน ๕ คน ซึ่งสาเหตุมาจากสาเหตุหลายปัจจัย จากการที่ผู้สูงอายุสภาพร่างกายที่เปลี่ยนไป ซึ่งปัจจัยด้านสภาพร่างกายที่เปลี่ยนไปมีผลต่อการเคลื่อนไหวด้วยอายุที่มากขึ้นสภาพร่างกายที่เสื่อมลง ประกอบกับมวลกล้ามเนื้อน้อย การทรงตัวที่ไม่มั่นคง โรคข้อเข่าเสื่อมเรื้อรัง ขาดสารอาหาร อีกทั้งสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกบ้าน มีผลทำให้เกิดภาวะของการหกล้มง่าย และเกิดภาวะพึ่งพึ่งพิงตามมา ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอยู่ใหญ่จึงเล็งเห็นควานสำคัญเหล่านี้ จึงได้จัดทำใครงการนี้ขึ้นเพื่อประโยชน์แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหกล้มในผู้สูงอายุและลดการเกิดภาวะกระดูกหักในผู้สูงอายุ
- เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและ ภาวะการทรงตัวที่ดีของผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ถ่ายทอดความรู้แก่ผู้สูงอายุเกี่ยวกับภาวะการหกล้ม การป้องกันดูแลตนเอง
- อบรมเชิงปฏิบัติการโดยฝึกออกกำลังสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ประเมินและคัดกรอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหกล้มในผู้สูงอายุและลดการเกิดภาวะกระดูกหักในผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการประเมินได้รับการประเมินสมรรถภาพทางกายผู้สูงอายุ (ตามเกณฑ์ของกองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามั้ย กระทรวงสาธารณสุข) อยู่ในเกณฑ์ปกติ |
40.00 | 0.00 |
|
|
2 | เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและ ภาวะการทรงตัวที่ดีของผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประเมินสมรรถภาพกล้ามเนื้อก่อนและหลังอบรม ร้อยละ ๑๐๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหกล้มในผู้สูงอายุและลดการเกิดภาวะกระดูกหักในผู้สูงอายุ (2) เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและ ภาวะการทรงตัวที่ดีของผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ถ่ายทอดความรู้แก่ผู้สูงอายุเกี่ยวกับภาวะการหกล้ม การป้องกันดูแลตนเอง (2) อบรมเชิงปฏิบัติการโดยฝึกออกกำลังสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ประเมินและคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมพลัง กล้ามเนื้อป้องกันภาวะหกล้มและลดความพิการในผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......