โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลปลักหนู ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลปลักหนู ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 |
รหัสโครงการ | L5203-01-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลปลักหนู |
วันที่อนุมัติ | 25 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 25 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 85,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอรรถพล ศรีประมวล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.676,100.663place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 25 พ.ย. 2567 | 30 ก.ย. 2568 | 85,100.00 | |||
รวมงบประมาณ | 85,100.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของประเทศ ในอดีตจะพบอัตราการเกิดโรค ในช่วงปลายปี แต่ปัจจุบันสามารถพบผู้ป่วยได้ตลอดทั้งปี และพบผู้ป่วยมีจำนวนเพิ่มขึ้น ซึ่งมีแนวโน้มการเกิดโรคสูงขึ้น ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล โดยเฉพาะหากมีแหล่งหรือสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพาะพันธ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค ดังนั้น การควบคุมป้องกันและการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกจึงเป็นสิ่งสำคัญในการลดอัตราการป่วย โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน และประชาชน ในการช่วยกันควบคุมป้องกันโรค อาทิ เช่น ด้วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย คว่ำภาชนะที่เป็นแหล่งน้ำขัง ปิดฝาภาชนะที่ใส่น้ำให้มิดชิด ใส่ทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย รวมถึงการป้องกันไม่ให้โดนยุงกัด โดยการใช้สมุนไพรพื้นบ้าน เป็นต้น และควรเฝ้าระวัง โดยการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเป็นประจำเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก และการควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคกรณีพบผู้ป่วยในพื้นที่ ทั้งนี้โรคไข้เลือดออกส่งผลกระทบทั้งในระยะสั้นและระยะยาว คือผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องได้รับการ ดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันอันตรายและลดอัตราการเสียชีวิต รวมไปถึงการดูแลป้องกันบุคคลภายใน ครอบครัว หรือบุคคลใกล้ชิด เช่น ในสถานที่ทำงาน โรงเรียน จึงเป็นการสูญเสียทั้งสุขภาพ เงินค่ารักษาพยาบาลหรือ ค่าใช้จ่ายขณะป่วยและพักฟื้น ของผู้ป่วยเองรวมไปถึงครอบครัว หน้าที่การงาน สังคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องสูญเสียงบประมาณ และทรัพยากรในการควบคุมและป้องกันโรค ซึ่งอาจส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศได้ จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว องค์การบริหารส่วนตำบลปลักหนู จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกช่วยทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และเพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลปลักหนู
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
25 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ด้านการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก | 100 | 85,100.00 | - | ||
รวม | 100 | 85,100.00 | 0 | 0.00 |
1 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง 2 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น 3 ประชาชนให้ความร่วมมือในการดําเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2567 15:23 น.