โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสมาวาตี พีรีซี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ
กุมภาพันธ์ 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-301 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2497-301 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2568 - 15 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นประเด็นสำคัญที่สังคมไทยให้ความสนใจ เนื่องจากวัยรุ่นเป็นช่วงวัยที่กำลังพัฒนาและเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคม หากเกิดการตั้งครรภ์ในวัยที่ไม่พร้อม มักนำมาซึ่งปัญหาในหลายมิติ เช่น การเสียโอกาสทางการศึกษา การเผชิญกับความกดดันทางสังคม การดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และปัญหาด้านเศรษฐกิจที่ตามมา
จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังคงมีแนวโน้มสูงในบางพื้นที่ โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนที่ขาดการเข้าถึงความรู้ด้านเพศศึกษาและบริการด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมักส่งผลกระทบระยะยาวต่อคุณภาพชีวิตของทั้งมารดาและบุตร เช่น ภาวะทุพโภชนาการในแม่วัยรุ่น ความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ รวมถึงความยากลำบากในการเลี้ยงดูบุตร ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาทางสังคม เช่น การทอดทิ้งเด็ก การออกจากโรงเรียนกลางคัน และการเกิดวัฏจักรความยากจน
สาเหตุของปัญหาดังกล่าวมักมาจากการขาดความรู้และทักษะในการตัดสินใจในสถานการณ์เสี่ยง การขาดการสนับสนุนจากครอบครัว และการไม่ได้รับการปลูกฝังทัศนคติที่เหมาะสมต่อเรื่องเพศในวัยเรียน แม้หน่วยงานต่าง ๆ จะมีความพยายามแก้ไขปัญหานี้ผ่านการให้บริการด้านสุขภาพและการจัดทำสื่อรณรงค์ แต่พบว่ายังมีวัยรุ่นจำนวนมากที่ขาดโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ที่เหมาะสม
ด้วยเหตุนี้ การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต จึงเป็นแนวทางที่สำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหา โดยเน้นการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ เพื่อให้พวกเขาได้รับความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการป้องกันการตั้งครรภ์ รวมถึงการสร้างความตระหนักรู้ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว และสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ด้านเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์
- เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิเสธและการสื่อสารในสถานการณ์เสี่ยง
- เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น
- เยาวชนสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและลดพฤติกรรมเสี่ยง
- ชุมชนมีการลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
09.00 น. - 12.00 น.
บรรยาย หัวข้อ - ความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา
- ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
- พฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัยของวัยรุ่น
13.30 น. - 15.30 น. บรรยาย หัวข้อ - โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- การคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัว
15.30 น. - 16.30 น. ถอดบทเรียนและนำเสนอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น พฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัยของวัยรุ่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ การคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัว
- เด็กและเยาวชนตระหนักถึงผลกระทบของการขาดความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา ที่อาจจะตามมาถึงปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- เด็กและเยาวชนมีทักษะในการใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพต่อไปในอนาคต
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ด้านเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
60.00
20.00
2
เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิเสธและการสื่อสารในสถานการณ์เสี่ยง
ตัวชี้วัด :
20.00
10.00
3
เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด :
60.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ด้านเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์ (2) เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิเสธและการสื่อสารในสถานการณ์เสี่ยง (3) เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-301
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรุสมาวาตี พีรีซี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสมาวาตี พีรีซี
กุมภาพันธ์ 2568
ที่อยู่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-301 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2497-301 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2568 - 15 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นประเด็นสำคัญที่สังคมไทยให้ความสนใจ เนื่องจากวัยรุ่นเป็นช่วงวัยที่กำลังพัฒนาและเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคม หากเกิดการตั้งครรภ์ในวัยที่ไม่พร้อม มักนำมาซึ่งปัญหาในหลายมิติ เช่น การเสียโอกาสทางการศึกษา การเผชิญกับความกดดันทางสังคม การดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และปัญหาด้านเศรษฐกิจที่ตามมา จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังคงมีแนวโน้มสูงในบางพื้นที่ โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนที่ขาดการเข้าถึงความรู้ด้านเพศศึกษาและบริการด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมักส่งผลกระทบระยะยาวต่อคุณภาพชีวิตของทั้งมารดาและบุตร เช่น ภาวะทุพโภชนาการในแม่วัยรุ่น ความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ รวมถึงความยากลำบากในการเลี้ยงดูบุตร ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาทางสังคม เช่น การทอดทิ้งเด็ก การออกจากโรงเรียนกลางคัน และการเกิดวัฏจักรความยากจน สาเหตุของปัญหาดังกล่าวมักมาจากการขาดความรู้และทักษะในการตัดสินใจในสถานการณ์เสี่ยง การขาดการสนับสนุนจากครอบครัว และการไม่ได้รับการปลูกฝังทัศนคติที่เหมาะสมต่อเรื่องเพศในวัยเรียน แม้หน่วยงานต่าง ๆ จะมีความพยายามแก้ไขปัญหานี้ผ่านการให้บริการด้านสุขภาพและการจัดทำสื่อรณรงค์ แต่พบว่ายังมีวัยรุ่นจำนวนมากที่ขาดโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ที่เหมาะสม ด้วยเหตุนี้ การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต จึงเป็นแนวทางที่สำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหา โดยเน้นการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ เพื่อให้พวกเขาได้รับความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการป้องกันการตั้งครรภ์ รวมถึงการสร้างความตระหนักรู้ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว และสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ด้านเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์
- เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิเสธและการสื่อสารในสถานการณ์เสี่ยง
- เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น
- เยาวชนสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและลดพฤติกรรมเสี่ยง
- ชุมชนมีการลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ09.00 น. - 12.00 น. บรรยาย หัวข้อ - ความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา - ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น - พฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัยของวัยรุ่น 13.30 น. - 15.30 น. บรรยาย หัวข้อ - โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - การคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัว 15.30 น. - 16.30 น. ถอดบทเรียนและนำเสนอ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ด้านเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : |
60.00 | 20.00 |
|
|
2 | เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิเสธและการสื่อสารในสถานการณ์เสี่ยง ตัวชี้วัด : |
20.00 | 10.00 |
|
|
3 | เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ตัวชี้วัด : |
60.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ด้านเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์ (2) เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิเสธและการสื่อสารในสถานการณ์เสี่ยง (3) เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ และการเสริมสร้างทักษะชีวิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2497-301
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรุสมาวาตี พีรีซี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......