กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงโรคเบา หวานและความดันโลหิตสูง
รหัสโครงการ 68-L1541-1-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลห้วยยอด
วันที่อนุมัติ 3 ธันวาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 11,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายปิยวิทย์ เนกขพัฒน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.762085,99.64546place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ม.ค. 2568 31 ส.ค. 2568 11,250.00
รวมงบประมาณ 11,250.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพสำคัญในประเทศไทย มีอัตราผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารไม่ดี การขาดการออกกำลังกาย เป็นต้น ดังนั้นแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุและลดจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น  โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการป้องกันโรคเรื้อรังต่างๆ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา) เพิ่มหลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา) เพิ่มขึ้นหลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา) อยู่ในระดับดีขึ้น หลังจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา) อยู่ในระดับดีขึ้น หลังจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่าร้อยละ 50

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีแนวทางในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  3. อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ธ.ค. 2567 09:11 น.