โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง
ชื่อโครงการ | โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง |
รหัสโครงการ | 68-L3035-03-001 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลสะดาวา |
วันที่อนุมัติ | 13 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 19,972.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายเเวอับดุลเลาะ เจะเละ ประธานศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลสะดาวา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.821,101.311place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 218 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
รัฐบาลให้ความสำคัญกับการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่องโดยพบว่าประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจาก 4 ล้านคน (ร้อยละ 6.8) ในปี 2537 เป็น 10 ล้านคน (ร้อยละ 14.9) ในปี 2557 และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ในปี 2583 กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่าเป็นกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคมร้อยละ 79 และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านติดเตียง จำเป็นต้องสนับสนุนบริการด้านสุขภาพและสังคม รัฐบาลมุ่งเน้นในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านติดเตียง โดยมีเป้าหมายสำคัญคือทำอย่างไรจะป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุที่ยังแข็งแรงมีการเจ็บป่วยต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงจะได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม โดยทีมสหวิชาชีพในระดับปฐมภูมิซึ่งจัดบริการดูแลสุขภาพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหาสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและท้องถิ่น เพื่อรองรับการดำเนินงานการจัดระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) แบบบูรณาการในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา คณะอนุกรรมการ LTC คณะกรรมการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ Cg/CM องค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา เป็นบุคคลในการประสานร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน ที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนและเรียนรู้ สร้างจิตสำนึกร่วมกันเป็นเจ้าของและร่วมกันบริหารจัดการกองทุน ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟุคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยการให้ความรู้สร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่เป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ให้การดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่ถูกต้อง ผู้ให้การดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่ถูกต้อง เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
||
2 | เพื่อให้ผู้มีภาวะพึ่งพิงที่ต้องดูแลแบบประคับประคอง ได้รับการดูแลอย่างมีแบบแผน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลที่ทั่วถึง และมีแบบแผน คิดเป็นร้อยละ 100 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ผู้ให้การดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่ถูกต้อง
- ผู้มีภาวะพึ่งพิงต้องดูแลแบบประคับประคอง ได้รับการดูแลอย่างมีแบบแผน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ธ.ค. 2567 10:57 น.