โครงการประชาสัมพันธ์โรคและภัยสุขภาพในฤดุฝน
ชื่อโครงการ | โครงการประชาสัมพันธ์โรคและภัยสุขภาพในฤดุฝน |
รหัสโครงการ | ๖๘ - L๓๐๕๙ - ๐๑ -๐๑ |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.มะนังดาลำ |
วันที่อนุมัติ | 10 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 19 ธันวาคม 2567 - 1 กุมภาพันธ์ 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 มีนาคม 2568 |
งบประมาณ | 24,720.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอับดุลการิม กะมะ ผอ.สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอัสมิน หายีนิเงาะ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.649,101.599place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 19 ธ.ค. 2567 | 28 ก.พ. 2568 | 24,720.00 | |||
รวมงบประมาณ | 24,720.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในช่งฤดูฝนของทุกๆปี จะมีโรคและภัยที่มากับน้ำฝนโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคติดต่อ โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าไปเพิ่มจำนวนในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเป็นจากตัวเชื้อโรคเอง หรือพิษที่เชื่อโรคนั้นปล่อยออกมา เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือทางอ้อมไปสู่คนปกติ บางครั้งเรียกว่าโรคติดเชื่้อแทนคำว่าโรคติดต่อโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนของทุกปีในตำบลมะนังดาลำจะมีฝนตกชุก มีความชื้นสูงเป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในตำบลมะนังดาลำ สามารถรู้ทันโรคและภัยสุขภาพในฤดูฝน และเฝ้าระวังโรคติดต่อเช่น ได้แก่ โรคติดต่อทางเดินหายใจ,โรคมากับน้ำและอาหาร,โรคมือเท้าปากและโรคติดต่ออื่นๆเป็นการกระตุ้นให้สามารถเตรียมความพร้อมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพที่จะมาในช่วงฤดูฝนของทุกๆปีที่จะขึ้น อบต.มะนังดาลำ จึงมีความจำเป็นต้องประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ตระหักและให้ความสำคัญและเพื่อความเสริมสร้างให้ประชาชนได้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขถาพในฤดุฝนที่จะเข้ามาในชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับข้อมูลข่าวสารดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและภัยสุขภาพในฤดูฝนในชุมชนอย่างทั่วถึง ๒.ลดจำนวนผู้ป่วยและการแพร่เชื่อโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน ๓.ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศด้านสุขภาพถูกต้อง รวดเร็ว ทันเหตูการณ์ ร้อยละ ของประชาชนในพื้นที่่สามารถรู้ทันโรคและภัยสุขภาพในฤดูฝนสามารถป้องกันได้ทัน |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
๑.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคและสุขภาพในฤดูฝน ๒.ชุมชนเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคและภัยสุขภาพในฤดูฝน ๓.สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในช่วงฤดูฝนในชุมชนได้ในเบื้องต้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2567 11:16 น.