กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โรงเรียนบ้านอาโหส่งเสริม ป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนสู่ชุมชน ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอปีอะ เจ๊ะแล๊ะ




ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านอาโหส่งเสริม ป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนสู่ชุมชน

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3035 -2568 – 02 - 008 เลขที่ข้อตกลง 16/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2568 ถึง 15 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านอาโหส่งเสริม ป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนสู่ชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านอาโหส่งเสริม ป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนสู่ชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านอาโหส่งเสริม ป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนสู่ชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 -2568 – 02 - 008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2568 - 15 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคในช่องปากสามารถพบได้มากใน คนทุกวัย ธรรมชาติของการเกิดโรคในช่องปาก นั้นจะพัฒนาไปตามช่วงวัย เริ่มจากปัญหาฟันผุในกลุ่มเด็กและเยาวชน ไปจนถึงปัญหาโรค ปริทันต์ในวัยทำงาน และปัญหา          การสูญเสียฟัน ทั้งในวัยทำงานและผู้สูงอายุ ซึ่งจากการสำรวจสภาวะสุขภาวะช่องปากโดยสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย พบว่าแต่ละช่วงวัยต่างก็มีปัญหาแตกต่างกันไป หากปล่อยให้เป็นเรื้อรังย่อมจะนำไปสู่ปัญหาเมื่ออายุมากขึ้น       โรคทางช่องปาก เป็นโรคที่ทำให้อัตราการมีฟันแท้ของประชาชนลดลง ซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยการแปรงฟัน การเคี้ยวอาหาร อย่างถูกต้อง และการรับประทานอาหารที่ไม่มีน้ำตาล หรือกรด เป็นส่วนประกอบ นอกจากการดูแลสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเองแล้ว ยังสามารถตรวจสภาพของช่องปากจากบุคลากรทันตสาธารณสุข และเมื่อพบความผิดปกติในเบื้องต้นสามารถที่จะป้องกันฟันผู้ได้จากการเคลือบฟลูออไรด์ หรือการอุดฟันในเด็กนักเรียน จากข้อมูลของจำนวนเด็กนักเรียนที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากของโรงเรียนบ้านอาโห ตำบลสะดาวา ในปีที่ผ่านมาพบว่าเด็กอายุระหว่าง 6-12 ปี ข้อมูลเด็กที่มีอายุ 12 ปี การสำรวจพบว่ามีฟันผุแท้ร้อยละ 52.3 เฉลี่ย 1.3 ซี่/คน และยังมีนักเรียนอีกจำนวนหนึ่ง ที่ยังไม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องฟันและยังขาดการดูแลและละเลยการทำความสะอาดช่องปากให้ถูกวิธีจากพ่อแม่หรือผู้ปกครอง จากข้อมูลสถิติดังกล่าวนี้โรงเรียนบ้านอาโหจึงได้จัดโครงการโรงเรียนบ้านอาโหส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนสู่ชุมชนเพื่อป้องกันฟันผุและดูและรักษาสุขภาพด้วยการให้ความรู้ในการดูแลรักษาช่องปาก เพื่อให้ได้รับการพัฒนาศักยภาพและได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีความรู้ เห็นความสำคัญของฟันน้ำนม ฟันแท้ ไม่ละเลยการทำความสะอาดช่องปากให้เด็ก ส่งเสริมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง ขนมหวาน น้ำอัดลม ใช้แปรงสีฟันอย่างถูกวิธี มีความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านอาโหมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
  2. เพื่อให้นักเรียนดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกต้องและมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 96
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก และฝึกการแปรงฟันถูกวิธี สามารถดูแลทันตสุขภาพ
      ของตนเองได้อย่างถูกต้องและถ่ายทอดสู่ครอบครัวและชุมชนได้   2. โรงเรียนจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ทุกวันที่เปิดเรียน ทุกชั้นเรียน   3. ผู้ปกครองนำเด็กที่ได้รับแจ้งปัญหาทันตสุขภาพ ไปรับการรักษาที่เหมาะสม   4. อัตราของโรคฟันผุในเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายลดลงในปีต่อไป

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านอาโหมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านอาโหมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

     

    2 เพื่อให้นักเรียนดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกต้องและมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของนักเรียนสามารถแปรงฟันแปรงฟันด้วยวิธีที่ถูกต้องและเลือกใช้แปรงฟันยาสีฟันได้เหมาะสมกับวัยของตนเอง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 96
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านอาโหมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น (2) เพื่อให้นักเรียนดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกต้องและมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โรงเรียนบ้านอาโหส่งเสริม ป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนสู่ชุมชน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ L3035 -2568 – 02 - 008

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวรอปีอะ เจ๊ะแล๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด