โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L4115 - 68 - 01 - 03 เลขที่ข้อตกลง L4115-68-01-03
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4115 - 68 - 01 - 03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ.2562 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (5)ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และตามพระราชบัญญัติกำหนด (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ และพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 หมวด ๒ การกำหนดอำนาจและหนาที่ในการจดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา ๑๖ ใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตำบลมีอำนาจและ หนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเองดังนี้ (๑๑) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอัน ดีของทองถิ่น (๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
การเข้าสุนัต เป็นพิธีกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่ง ของมุสลิมทุกคน พึงปฏิบัติ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความสะอาดของอวัยวะเพศและผลทางเพศสัมพันธ์ ตามหลักการของศาสนา อิสลาม คือการตัดหนังหุ้มส่วนปลายอวัยวะเพศหรือเรียกตามภาษาท่องถิ่นว่า "มาโซะยาวี" ซึ่งจะกระทำกับเด็กชายที่มีอายุระหว่าง 9-16ปี เด็กที่เข้าพิธีนี้เรียกว่า อาเนาะตูนอ โดยโต๊ะมูเด็งหรือหมอทำพิธี ผู้นำศาสนา ญาติพี่น้องและผู้ที่เคารพนับถือ โดยบิดามารดาจะไปว่าจ้างผู้ที่มีความชำนาญ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หมอทำสุนัต พร้อมกับเชิญญาติ พี่น้องมาร่วมพิธี เมือถึงเวลาทำพิธี จะประกอบพิธีทางศาสนาเพื่อขอพรแด่องค์อัลเลาะห์ ผู้ทำสุนัตจะเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวเพื่อให้สะดวกในการทำสุนัต เช่น การนุ่งผ้าขาวม้า หรือนุ่งผ้าโสร่งกลอมเท้าก็ได้ เมื่อถึงเวลาทำพิธี โต๊ะมูเด็งหรือหมอผู้ทำพิธีกล่าวนามพระผู้เป็นเจ้า เสร็จแล้วลงมือขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของผู้ทำสุนัต จากนั้นจึงทำพิธีมาโซะ มาลายูหรือมาโซะอิสลามด้วยการกล่าวคำปฏิญาณต่อองค์อัลเลาะห์ ในการทำพิธีมาโซะยาวีหรือเข้าสุนัตจะมีสักขีพยานอย่างน้อย 2 คน ซึ่งชาวมุสลิมเชื่อว่า ชาวมุสลิมที่แท้จริงควรเข้าสุนัต ถ้าไม่เข้าสุนัตถือเป็นมุสลิมไม่สมบูรณ์ ไม่บริสุทธิ์ มุสลิมจึงมักทำพิธีสุนัต
เพื่อเป็นการทำนุบำรุงศาสนา การอนุรักษ์ การสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครองตลอดจนเพื่อเป็นการรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพนอกจากนี้ทำให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครอง
- เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อ ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
- เพื่อรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
- เพื่อช่วยกันทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเยาวชนสามารถรู้รักษ์รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาและแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง
2
เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อ ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนสามารถลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก
3
เพื่อรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเยาวชนเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค
4
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรคได้
5
เพื่อช่วยกันทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเยาวชนรู้จักทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครอง (2) เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อ ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding) (3) เพื่อรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค (5) เพื่อช่วยกันทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L4115 - 68 - 01 - 03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L4115 - 68 - 01 - 03 เลขที่ข้อตกลง L4115-68-01-03
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4115 - 68 - 01 - 03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ.2562 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (5)ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และตามพระราชบัญญัติกำหนด (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ และพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 หมวด ๒ การกำหนดอำนาจและหนาที่ในการจดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา ๑๖ ใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตำบลมีอำนาจและ หนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเองดังนี้ (๑๑) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอัน ดีของทองถิ่น (๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
การเข้าสุนัต เป็นพิธีกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่ง ของมุสลิมทุกคน พึงปฏิบัติ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความสะอาดของอวัยวะเพศและผลทางเพศสัมพันธ์ ตามหลักการของศาสนา อิสลาม คือการตัดหนังหุ้มส่วนปลายอวัยวะเพศหรือเรียกตามภาษาท่องถิ่นว่า "มาโซะยาวี" ซึ่งจะกระทำกับเด็กชายที่มีอายุระหว่าง 9-16ปี เด็กที่เข้าพิธีนี้เรียกว่า อาเนาะตูนอ โดยโต๊ะมูเด็งหรือหมอทำพิธี ผู้นำศาสนา ญาติพี่น้องและผู้ที่เคารพนับถือ โดยบิดามารดาจะไปว่าจ้างผู้ที่มีความชำนาญ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หมอทำสุนัต พร้อมกับเชิญญาติ พี่น้องมาร่วมพิธี เมือถึงเวลาทำพิธี จะประกอบพิธีทางศาสนาเพื่อขอพรแด่องค์อัลเลาะห์ ผู้ทำสุนัตจะเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวเพื่อให้สะดวกในการทำสุนัต เช่น การนุ่งผ้าขาวม้า หรือนุ่งผ้าโสร่งกลอมเท้าก็ได้ เมื่อถึงเวลาทำพิธี โต๊ะมูเด็งหรือหมอผู้ทำพิธีกล่าวนามพระผู้เป็นเจ้า เสร็จแล้วลงมือขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของผู้ทำสุนัต จากนั้นจึงทำพิธีมาโซะ มาลายูหรือมาโซะอิสลามด้วยการกล่าวคำปฏิญาณต่อองค์อัลเลาะห์ ในการทำพิธีมาโซะยาวีหรือเข้าสุนัตจะมีสักขีพยานอย่างน้อย 2 คน ซึ่งชาวมุสลิมเชื่อว่า ชาวมุสลิมที่แท้จริงควรเข้าสุนัต ถ้าไม่เข้าสุนัตถือเป็นมุสลิมไม่สมบูรณ์ ไม่บริสุทธิ์ มุสลิมจึงมักทำพิธีสุนัต
เพื่อเป็นการทำนุบำรุงศาสนา การอนุรักษ์ การสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครองตลอดจนเพื่อเป็นการรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพนอกจากนี้ทำให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครอง
- เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อ ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
- เพื่อรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
- เพื่อช่วยกันทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเยาวชนสามารถรู้รักษ์รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาและแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง |
|
|||
2 | เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อ ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนสามารถลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก |
|
|||
3 | เพื่อรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเยาวชนเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค |
|
|||
4 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรคได้ |
|
|||
5 | เพื่อช่วยกันทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเยาวชนรู้จักทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครอง (2) เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อ ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding) (3) เพื่อรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค (5) เพื่อช่วยกันทำนุบำรุงศาสนาและอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L4115 - 68 - 01 - 03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......