กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย18 พฤศจิกายน 2567
18
พฤศจิกายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านนา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนในพื้นที่ร่วมกัน จัดการแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณรอบบ้านตนเองทุกสัปดาห์
  2. จัดกิจกรรมจิตอาสา ร่วมพัฒนาทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่สาธารณะ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกันสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบท, ปล่อยปลาหางนกยูง, คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) สัปดาห์ล่ะ 1 ครั้ง
2.ปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย เช่น ขยะ หรือมีการสะสมของภาชนะน้ำขังจำนวนมาก โดยจิตอาสาแประชาชนในพื้นที่

สร้างความรับรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก18 พฤศจิกายน 2567
18
พฤศจิกายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านนา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานพื้นที่ ผู้นำชุมชน และอสม.ในพื้นที่
2.ลงพื้นที่่ในความรู้ การป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่เกิดโรคและในพื้นที่หมู่บ้านตำบลบ้านนา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
2.ประชาชนในพื้นที่ ตระหนักถึงความสำคัญของโรคไข้เลือดออก

ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ในพื้นที่เกิดโรคและในรัศมี 100 เมตร1 พฤศจิกายน 2567
1
พฤศจิกายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านนา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ครัวเรือนที่มีผู้ป่วยและในรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ โดยการพ่นหมอกควันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดเคสผู้ป่วยในพื้นที่ จำนวน 11 ราย มีการควบคุมโรคโดยการพ่นหมอกควัน ณ บ้านผู้ป่วยและในรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์
2.ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกันสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
3.ประชาชนปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงบริเวณบ้านตนเอง เพื่อไม่ได้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ อย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ล่ะ 1 ครั้ง