กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยอารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ”
ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านแบหอ




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยอารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4115-68-02-02 เลขที่ข้อตกลง L4115-68-02-02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยอารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยอารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยอารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4115-68-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ในปัจจุบันวิถีชีวิตของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงไป มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น ทำให้มีการเคลื่อนไหวออกแรงกายลดลง ซึ่งเป็นผลเสียต่อสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง การออกกำลังกายและการเล่นกีฬามีประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเป็นการป้องกันโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด ซึ่งโรคเหล่านี้กำลังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในภาพรวมของระดับประเทศ ดังที่จะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้นด้วย โดยเฉพาะปัญหาสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งการออกกำลังกายเสมือนเป็นยาวิเศษที่ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายเกิดความสมบูรณ์แข็งแรง เป็นเกราะป้องกันโรคภัยความเจ็บป่วยได้อย่างดี แต่ทั้งนี้ การออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสม ผู้ออกกำลังกายจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะที่ถูกต้องในการกำหนดรูปแบบ วิธีการ และระยะเวลาในการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามสภาพของบุคคล ดังนั้น สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง เป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การดูแลส่งเสริมสุขภาพจะต้องดูแลและส่งเสริมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
    โรงเรียนบ้านแบหอ จึงกำหนดให้มีโครงการหนูน้อยอารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องการออกกำลังกาย เพื่อให้การออกกำลังกายเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยในการพัฒนาสร้างเสริมความแข็งแรงและจิตใจของคนเราให้แข็งแรง และได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการด้านสุขภาวะทางอารมณ จิตใจให้มีความสุข ตลอดจนฝึกให้นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสมตามวัย โดยการสนับสนุนจากโรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ตลอดจนบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนาโรงเรียนด้านการส่งเสริมสุขอนามัย ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  2. เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจของนักเรียนในการสร้างภูมิคุ้มกันตนเองด้านการรู้เท่าทันเรื่องสุขภาพ
  3. เพื่อสร้างทีม อสม.น้อยจิตอาสา ในโรงเรียน
  4. บริการด้านสุขภาพให้กับโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 126
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เรื่องการออกกำลังกาย สร้างเสริมความแข็งแรงและจิตใจของคนเราให้แข็งแรง และได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการด้านสุขภาวะทางอารมณ์ จิตใจให้มีความสุขได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 พัฒนาโรงเรียนด้านการส่งเสริมสุขอนามัย ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีการพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขอนามัยนักเรียนในโรงเรียน

     

    2 เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจของนักเรียนในการสร้างภูมิคุ้มกันตนเองด้านการรู้เท่าทันเรื่องสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีภูมิคุ้มกันตนเองด้านสุขภาพในการออกกำลังกาย

     

    3 เพื่อสร้างทีม อสม.น้อยจิตอาสา ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : จัดตั้งทีม อสม.น้อยจิตอาสา จำนวน 4 ทีม

     

    4 บริการด้านสุขภาพให้กับโรงเรียนและชุมชน
    ตัวชี้วัด : ตั้งจุดบริการด้านสุขภาพภายในโรงเรียน และออกบริการในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 126
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 126
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาโรงเรียนด้านการส่งเสริมสุขอนามัย ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (2) เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจของนักเรียนในการสร้างภูมิคุ้มกันตนเองด้านการรู้เท่าทันเรื่องสุขภาพ (3) เพื่อสร้างทีม อสม.น้อยจิตอาสา ในโรงเรียน (4) บริการด้านสุขภาพให้กับโรงเรียนและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยอารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ L4115-68-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงเรียนบ้านแบหอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด