โครงการคัดแยกขยะ ทิ้งให้ถูกที่ เพื่อโรงเรียนบ้านคลองแงะสะอาด
ชื่อโครงการ | โครงการคัดแยกขยะ ทิ้งให้ถูกที่ เพื่อโรงเรียนบ้านคลองแงะสะอาด |
รหัสโครงการ | 68-50087-2-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านคลองแงะ |
วันที่อนุมัติ | 7 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 31 ธันวาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 1 กุมภาพันธ์ 2569 |
งบประมาณ | 14,405.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางลดานที จินดานิมิตร บุปปะโพธิ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า | 80.00 | ||
2 | ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ | 80.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย ของประชาชน และคุณภาพชีวิตโดยรวม ทั้งนี้ กิจกรรมในชีวิตประจำวันทำให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่กลับพบว่าขยะจำนวนมากสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้หากมีการจัดการที่เหมาะสม ซึ่งการรีไซเคิลขยะนอกจากจะช่วยลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัดแล้ว ยังสามารถลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ช่วยลดพลังงานในการผลิต และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลต่อภาวะโลกร้อน จากการสำรวจพบว่า นักเรียนในโรงเรียนบ้านคลองแงะมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกขยะที่ถูกต้องและการรีไซเคิล ทำให้ขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถูกทิ้งรวมกับขยะทั่วไปสามารถนำไปรีไซเคิลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนบ้านคลองแงะจึงเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมความรู้และทักษะในการจัดการขยะรีไซเคิลให้แก่นักเรียนและคนในชุมชน โดยการจัดโครงการให้ความรู้เรื่องการบริหารการจัดการขยะขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ปลูกฝังพฤติกรรมที่เหมาะสมในการจัดการขยะ และส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในระดับชุมชนอย่างยั่งยืน ซึ่งจะนำไปสู่การลดปัญหาขยะในพื้นที่และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีจิตสำนึก มีวินัย และร่วมกันหาแนวทางในการจัดการขยะทั้งภายในห้องเรียน และในโรงเรียน ร้อยละ 92 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และร่วมกันหาแนวทางในการจัดการขยะทั้งภายในห้องเรียน และในโรงเรียน |
80.00 | 92.00 |
2 | เพื่อให้โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธีแก่หมู่บ้าน ชุมชนใกล้เคียง ร้อยละ 95 โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธีแก่หมู่บ้าน ชุมชนใกล้เคียง |
80.00 | 95.00 |
3 | เพื่อให้นักเรียนสามารถจัดการขยะภายในห้องเรียน โรงเรียน และชุมชน ร้อยละ 95 นักเรียนสามารถจัดการขยะภายในห้องเรียน โรงเรียน และชุมชน |
80.00 | 90.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 14,405.00 | 0 | 0.00 | 14,405.00 | |
31 ธ.ค. 67 - 31 ม.ค. 68 | จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานครู และบุคคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านคลองแงะ | 0 | 0.00 | - | - | ||
1 ก.พ. 68 - 30 พ.ย. 68 | กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการและให้ความรู้การทิ้งขยะถูกที่ แยกขยะถูกต้อง นำขยะกลับมาใช้ได้อีก กำจัดขยะถูก | 0 | 9,500.00 | - | - | ||
1 ก.พ. 68 - 31 ธ.ค. 68 | กิจกรรมสิ่งประดิษฐ์ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ | 0 | 4,905.00 | - | - | ||
1 พ.ย. 68 - 31 ธ.ค. 68 | กิจกรรมนำเสนอผลงานนักเรียนและสรุปผลการดำเนินงาน | 0 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 14,405.00 | 0 | 0.00 | 14,405.00 |
1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีจิตสำนึก มีวินัย และร่วมกันหาแนวทางในการจัดการขยะทั้งภายในห้องเรียน และในโรงเรียน
2.โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธีแก่หมู่บ้าน ชุมชนใกล้เคียง
- โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดขยะอย่างถูกวิธีแก่หมู่บ้าน ชุมชนใกล้เคียง
4.นักเรียนได้มีทักษะในการจัดการขยะรีไซเคิล
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ธ.ค. 2567 11:04 น.