โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุในเด็กปฐมวัย
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุในเด็กปฐมวัย |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด |
วันที่อนุมัติ | 24 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 6,275.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนุจรินทร์ หละดำ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 179 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากข่าวเด็กเสียชีวิตจากการติดในรถ เหตุการณ์เด็กจมน้ำ และเด็กเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บจจากอุยัติเหตุต่างๆ สรร้างความสะเทือนใจเสียใจให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ใกล้ชิดและรับรู้เป็นอย่างมาก เด็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด-6 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เด็กจะมีสุขภาพที่แข็งแรง เติบโตสมวัย มีอารมณ์เบิกบานแจ่มใสจะทำให้เด็กเกิดการพัฒนาอย่างเต็มที่และดีที่สุดในทุกด้าน พร้อมจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป แต่เด็กวัยนี้ต้องอยู่ในการดูแลของพ่อแม่ ผู้ัปกครอง ผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด และศ๔นย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด จังหวัดพัทลุงเห็นปัญหาเด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุต่างๆ เช่น เด็กติดในรถ เด็กจมน้ำ ฯลฯ เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ และสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ให้เห็นถึงความสำคัญของการเตรียมพร้อม ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็ก เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง บุคคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กให้ปลอดภัยห่างไกลจากภัยรอบตัวได้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด ได้เล็กเห็นความสำคัญของสุขภาพและความปลอดภัยของเด็กจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุในเด็กปฐมวัยขขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีทักษะรู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากเหตุการณ์ที่เสี่ยงให้ได้รับอันตราย เด็กนักเรียนสามารถปฏิบัติตามที่วิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้และเด็กนักเรียนมีความปลอดภัย ไม่เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงถึงแก่ชีวิตต่อเด็ก จำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวตในเด็กปฐมลดลง |
0.00 | |
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครอง บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัยและการสร้างเสริมสุขภาพให้กับเด็กปฏิบัติการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่คนที่ได้รับอุบัติเหตุและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้ ผู้ปกครอง บุคคลกรในศูนย์พัฒเด็กเล็กบ้านตะโหมดมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัยและการสร้างเสริมสุขภาพให้กับเด็กเข้าใจในสิ่งที่วิทยากรบรรยายให้ความรู้ ปฏิบัติการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่คนที่ได้รับอุบัติเหตุตามวิธีที่วิทยากรแนะนำได้ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่นเข้าใจได้ มีความตื่นตัวในการสร้างวัฒนธรรมการป้องกันความปลอดภัยของเด็กและผู้ปกครอง |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 6,275.00 | 0 | 0.00 | 6,275.00 | |
1 มิ.ย. 68 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องวิธีการป้องกันส่งเสริมความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุในเด็กปฐมวัย แก่เด็ก ผู้ปกครอง บุคลากร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด จำนวน 179 คน | 0 | 5,075.00 | - | - | ||
1 มิ.ย. 68 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมสาธิตการปฏิบัติ | 0 | 1,200.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 6,275.00 | 0 | 0.00 | 6,275.00 |
1.เด็กมีทักษะในการเอาตัวรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์หรืออุบัติเหตุ 2ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด มีพัฒนาศักยภาพความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัยและการสร้างเสริมสุขภาพให้กับเด็ก 3ผู้ปกครองเด็กมีความตื่นตัวในการสร้างวัฒนธรรมการป้องกันความปลอดภัยของเด็กปฐมวัยและผู้ปกครอง 4จำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็กปฐมลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ธ.ค. 2567 15:45 น.