กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งครบวงจร ประจำปี 2568 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ร้อยตรีหญิงกนกกาญจน์ ช่วงแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งครบวงจร ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68 - L8429 - 01 - 03 เลขที่ข้อตกลง 005.2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งครบวงจร ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งครบวงจร ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งครบวงจร ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68 - L8429 - 01 - 03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนทั่วโลก และมีแนวโน้มว่าจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี องค์การอนามัยโลกพบว่าในปี พ.ศ. 2565 มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่จำนวน 18.1 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจาก โรคมะเร็ง 9.6 ล้านคน โรคมะเร็งที่พบ 5 อันดับแรกของโลก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งกระเพาะอาหาร  ข้อมูลสถิติโรคมะเร็งประเทศไทยปี พ.ศ. 2565 ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบผู้ป่วยใหม่ 122,757 คน เป็นเพศชายจำนวน 59,662 คน และเพศหญิง 63,095 คน โรคมะเร็งที่พบมาก 5 อันดับแรกชายไทย ได้แก่ มะเร็งตับและท่อน้ำดี มะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งต่อมลูกหมาก และ มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ส่วนมะเร็งที่พบมาก 5 อันดับแรกในหญิงไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งตับและท่อน้ำดี มะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปอด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 2565)       มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดอันดับที่ 3 ในมะเร็งของสตรีไทย สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอน แต่สาเหตุสำคัญเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบัน คือ การติดเชื้อ human papilloma virus หรือ HPV บริเวณปากมดลูก เป็นสาเหตุจำเพาะของมะเร็งปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมทำให้ปากมดลูกมีโอกาสติดเชื้อ HPV ได้มากขึ้นหรือง่ายขึ้น เช่นการมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย หรือการตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย
      มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในผู้หญิงไทยพบว่ามีผู้หญิงไทยป่วยด้วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ราว 18,000 คนต่อปี หรือคิดเป็น 49 คนต่อวัน และมีผู้เสียชีวิตจากมะเร็งเต้านมราว 4,800 คน หรือคิดเป็น 13 คนต่อวัน สำหรับสาเหตุของการเกิดมะเร็งเต้านมยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคได้มากขึ้นจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น รับประทานอาหารไขมันสูง ขาดการออกกำลังกาย และดื่มสุรา รวมถึงบางปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น ความผิดปกติทางพันธุกรรม และอายุที่มากขึ้น เป็นต้น ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมเต้านม สถาบันมะเร็งแห่งชาติ มะเร็งเต้านมเกิดจากเนื้อเยื่อที่มีความผิดปกติส่วนใดส่วนหนึ่งภายในเต้านมแล้วเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์มะเร็ง โดยเฉพาะอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป หรือกลุ่มที่มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแรกอาจไม่แสดงอาการและมักมาพบแพทย์ด้วยการคลำพบก้อนเนื้อในเต้านมหรือบริเวณรักแร้
      มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่สามารถทำการตรวจหาได้ ตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก ซึ่งสามารถทำการรักษา ให้หายได้และเสียค่ำใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษามะเร็งในระยะลุกลาม นอกจากนี้ยังสามารถตรวจพบในระยะที่ยังไม่เป็นมะเร็งคือ Adenomas ซึ่งเมื่อทำการรักษาโดยการตัดทิ้งแล้วจะสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติจึงเสนอโครงการตรวจคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงให้กับประชาชนที่มีอายุ 50 - 70 ปีขึ้นไป โดยการตรวจเม็ดเลือดแดงแฝงในอุจจาระ ด้วยวิธีFecal Immunochemical Test (FIT) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเนื่องจากขั้นตอนในการเตรียมตัวไม่ยุ่งยากซับซ้อ       ปี 2566 ข้อมูลจากโรงพยาบาลตรัง พบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกจำนวน 60 คน ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม 164 คน ปี 2567 เขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสิเกา การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สตรี30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองคิดเป็นร้อยละ 70.35 พบความผิดปกติส่งต่อโรงพยาบาลตรัง 4 ราย การคัดกรองมะเร็งเต้านม    สตรี 30-70 ปีคิดเป็นร้อยละ 85.63 พบความผิดปกติส่งต่อโรงพยาบาลตรัง จำนวน 8 ราย การคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ประชาชนอายุ 50 – 70 ปี คิดเป็นร้อยละ 105.93 พบความผิดปกติ จำนวน 33 ราย และส่งต่อโรงพยาบาลตรังได้รับการส่องกล้อง จำนวน 29 ราย
      ดังนั้นกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสิเกา จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งครบวงจร ประจำปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
  2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม และผู้ที่พบผลผิดปกติตรวจยืนยันซ้ำโดยเจ้าหน้าที่
  3. เพื่อให้ประชาชน อายุ 50 - 70 ปี มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
  2. กิจกรรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้องค้นหาโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในพื้นที่ หมู่ที่ 1, 2, 3, 6, 8 และ 9 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
  2. จัดทำแผนปฏิบัติงานและประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการ
  3. ดำเนินกิจกรรมโครงการ
        3.1 กิจกรรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม           3.1.1 อบรมให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม สาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเองพร้อมแนะนำการบันทึกข้อมูลการตรวจในสมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง
              3.1.2 บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข           3.1.3 บริการเชิงรุกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองในชุมชน     3.2 กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่           3.2.1 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ วิธีการตรวจคัดกรองและการรักษา           3.2.2 สาธิตวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ และการใช้ชุดตรวจ FIT TEST           3.2.3 ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่แก่กลุ่มเป้าหมาย
  4. ประเมินและรายงานผลการดำเนินโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ลดอัตราการป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ได้เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้องค้นหาโรค

 

100 0

2. กิจกรรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในพื้นที่ หมู่ที่ 1, 2, 3, 6, 8 และ 9 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
  2. จัดทำแผนปฏิบัติงานและประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการ
  3. ดำเนินกิจกรรมโครงการ
        3.1 กิจกรรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม           3.1.1 อบรมให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม สาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเองพร้อมแนะนำการบันทึกข้อมูลการตรวจในสมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง
              3.1.2 บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข           3.1.3 บริการเชิงรุกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองในชุมชน     3.2 กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่           3.2.1 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ วิธีการตรวจคัดกรองและการรักษา           3.2.2 สาธิตวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ และการใช้ชุดตรวจ FIT TEST           3.2.3 ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่แก่กลุ่มเป้าหมาย
  4. ประเมินและรายงานผลการดำเนินโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ลดอัตราการป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ได้เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้องค้นหาโรค

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ผ่านเกณฑ์เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม

 

2 เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม และผู้ที่พบผลผิดปกติตรวจยืนยันซ้ำโดยเจ้าหน้าที่
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 90 ของสตรี อายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม - ร้อยละ 30 ของสตรี อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

 

3 เพื่อให้ประชาชน อายุ 50 - 70 ปี มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้อง
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้เข้าร่วมกิจกรรมฯ - ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ฯและเข้าใจวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม และผู้ที่พบผลผิดปกติตรวจยืนยันซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ (3) เพื่อให้ประชาชน อายุ 50 - 70 ปี มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ (2) กิจกรรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งครบวงจร ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68 - L8429 - 01 - 03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ว่าที่ร้อยตรีหญิงกนกกาญจน์ ช่วงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด