กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2568 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมฤดี สิทธิการ




ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L8429-01-08 เลขที่ข้อตกลง 006.2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 เมษายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8429-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เนื่องจากประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มีมากเกิน 10% ของประชากรทั้งประเทศ และต่อมาในปี พ.ศ. 2564 ไทยได้ก้าวเข้าสู่ "สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบ" (Aged Society) เนื่องจากประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นถึง 20% ของประชากรทั้งหมดในประเทศ และในปี พ.ศ. 2567 มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 13,450,391 คน คิดเป็นร้อยละ 20.70 จากข้อมูลข้างต้นพบว่าแนวโน้มจำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสวนทางกับอัตราการเกิดที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้สูงอายุเผชิญปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตมากขึ้น โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะสมองเสื่อม การหกล้ม และซึมเศร้า เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้เกิดการสูญเสียปีสุขภาวะและทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขในการดูแลรักษาสุขภาพผู้สูงอายุจำนวนมาก จากผลคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน เขตพื้นที่ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ปี พ.ศ. 2567 จำนวน 996 ราย พบความผิดปกติดังนี้ ปัญหาการมองเห็น จำนวน 37 ราย ปัญหาการกลั้นปัสสาวะ จำนวน 3 ราย ปัญหาการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน จำนวน 12 ราย ปัญหาความคิดความจำ จำนวน 1 ราย ปัญหาภาวะซึมเศร้า จำนวน 10 ราย ปัญหาการเคลื่อนไหว จำนวน 1 ราย
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสิเกา จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุปี 2568 สำหรับผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาล คือหมู่ที่ 1,2,3,6,8 และ 9 ตำบลบ่อหิน เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิต การประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ตลอดทั้งได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ ในรายที่มีความเสี่ยง โดยคาดหวังว่าผลจากการดำเนินโครงการจะช่วย ให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่เหมาะสมและตรงกับปัญหา สำหรับผู้สูงอายุที่ป่วยหรือมีโรค ก็สามารถควบคุมอาการไม่ให้กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยลงกว่าเดิม รวมทั้งได้รับการฟื้นฟูสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อวางแผนการดูแลที่ตรงปัญหา
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะถดถอยด้านสุขภาพ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุในรายที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการส่งต่อและการดูแลตามมาตรฐาน
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในระดับเกณฑ์ปกติ รวมทั้งมีทักษะในการจัดการปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ
  2. กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพ ปัญหาสำคัญ และโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
  3. กิจกรรมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาสุขภาพจิตด้วยโปรแกรม ความสุข 5 มิติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม
  2. ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการตรวจคัดกรอง ได้รับการดูแลหรือแก้ไขปัญหาโดยผู้เชี่ยวชาญ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ

วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ในหมู่ที่ 1, 2, 3, 6, 8, 9 ตำบลบ่อหิน เพื่อเตรียมพร้อมดำเนินโครงการ
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
  3. ดำเนินกิจกรรมโครงการ ประกอบด้วย         กิจกรรมที่ 1 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ         กิจกรรมที่ 2 ตรวจคัดกรองสุขภาพ ปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ คัดกรองกลุ่มอาการสูงอายุ  (Geriatric syndromes) ตามคู่มือการคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ พ.ศ.2564 พร้อมบันทึกผล และส่งต่อผู้สูงอายุรายที่มีปัญหาสุขภาพ พบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับการประเมินและแก้ไขปัญหา         กิจกรรมที่ 3 การดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงมีปัญหาสุขภาพจิตด้วยโปรแกรม ความสุข 5 มิติ
    - มิติที่ 1 สุขสบาย
    - มิติที่ 2 สุขสนุก
    - มิติที่ 3 สุขสง่า
    - มิติที่ 4 สุขสว่าง
    - มิติที่ 5 สุขสงบ
  4. รายงานผลการดำเนินโครงการ ต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม
  2. ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการตรวจคัดกรอง ได้รับการดูแลหรือแก้ไขปัญหาโดยผู้เชี่ยวชาญ

 

0 0

2. กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพ ปัญหาสำคัญ และโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ

วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ในหมู่ที่ 1, 2, 3, 6, 8, 9 ตำบลบ่อหิน เพื่อเตรียมพร้อมดำเนินโครงการ
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
  3. ดำเนินกิจกรรมโครงการ ประกอบด้วย     กิจกรรมที่ 1 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ     กิจกรรมที่ 2 ตรวจคัดกรองสุขภาพ ปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ คัดกรองกลุ่มอาการสูงอายุ (Geriatric syndromes) ตามคู่มือการคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ พ.ศ.2564 พร้อมบันทึกผล และส่งต่อผู้สูงอายุรายที่มีปัญหาสุขภาพ พบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับการประเมินและแก้ไขปัญหา     กิจกรรมที่ 3 การดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงมีปัญหาสุขภาพจิตด้วยโปรแกรม ความสุข 5 มิติ
    • มิติที่ 1 สุขสบาย
    • มิติที่ 2 สุขสนุก
    • มิติที่ 3 สุขสง่า
    • มิติที่ 4 สุขสว่าง
    • มิติที่ 5 สุขสงบ
  4. รายงานผลการดำเนินโครงการ ต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม
  2. ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการตรวจคัดกรอง ได้รับการดูแลหรือแก้ไขปัญหาโดยผู้เชี่ยวชาญ

 

600 0

3. กิจกรรมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาสุขภาพจิตด้วยโปรแกรม ความสุข 5 มิติ

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ในหมู่ที่ 1, 2, 3, 6, 8 , 9 ตำบลบ่อหิน เพื่อเตรียมพร้อมดำเนินโครงการ
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
  3. ดำเนินกิจกรรมโครงการ ประกอบด้วย         กิจกรรมที่ 1 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ         กิจกรรมที่ 2 ตรวจคัดกรองสุขภาพ ปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ คัดกรองกลุ่มอาการสูงอายุ  (Geriatric syndromes) ตามคู่มือการคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ พ.ศ.2564 พร้อมบันทึกผล และส่งต่อผู้สูงอายุรายที่มีปัญหาสุขภาพ พบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับการประเมินและแก้ไขปัญหา         กิจกรรมที่ 3 การดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงมีปัญหาสุขภาพจิตด้วยโปรแกรม ความสุข 5 มิติ
    - มิติที่ 1 สุขสบาย
    - มิติที่ 2 สุขสนุก
    - มิติที่ 3 สุขสง่า
    - มิติที่ 4 สุขสว่าง
    - มิติที่ 5 สุขสงบ
  4. รายงานผลการดำเนินโครงการ ต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม
  2. ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการตรวจคัดกรอง ได้รับการดูแลหรือแก้ไขปัญหาโดยผู้เชี่ยวชาญ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อวางแผนการดูแลที่ตรงปัญหา
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุในพื้นที่เป้าหมาย ได้รับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามเกณฑ์

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะถดถอยด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 30 ของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็น Geriatric Syndromes ได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุในรายที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการส่งต่อและการดูแลตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการส่งต่อและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในระดับเกณฑ์ปกติ รวมทั้งมีทักษะในการจัดการปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุในพื้นที่เป้าหมาย มีสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในระดับเกณฑ์ปกติขึ้นไป

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อวางแผนการดูแลที่ตรงปัญหา (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะถดถอยด้านสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุในรายที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการส่งต่อและการดูแลตามมาตรฐาน (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในระดับเกณฑ์ปกติ รวมทั้งมีทักษะในการจัดการปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพ ปัญหาสำคัญ และโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาสุขภาพจิตด้วยโปรแกรม ความสุข 5 มิติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L8429-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสมฤดี สิทธิการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด