โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางชิดชนก พลเดช
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8429-01-14 เลขที่ข้อตกลง 007.2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8429-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งในชีวิตของผู้หญิง ซึ่งไม่เพียงเกี่ยวข้องกับสุขภาพของมารดา แต่ยังส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพและพัฒนาการของทารกในครรภ์ การฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทั้งในมารดาและทารก เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และการคลอดก่อนกำหนด
จากข้อมูลของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ว่ากระทรวงมหาดไทยร่วมกับคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าหญิงตั้งครรภ์ในบางพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม และไม่ได้เข้ารับบริการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ที่กำหนด ส่งผลให้เกิดอัตราการคลอดที่มีความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพของทารกแรกเกิด เพื่อให้การตั้งครรภ์ดำเนินไปอย่างปลอดภัยและลดความเสี่ยงดังกล่าว การฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพตั้งแต่ระยะแรกเริ่มจนถึงคลอดจึงเป็นสิ่งจำเป็น โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์นี้มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์คุณภาพในกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงให้ความรู้เรื่องโภชนาการ การออกกำลังกายที่เหมาะสม และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ โดยเน้นการสร้างความตระหนักรู้และการสนับสนุนจากครอบครัวและชุมชน
ประกอบกับข้อมูลของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ประจำปี2567 พบว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่มีอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ คิดเป็น ร้อยละ 65 ซึ่งยังต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ที่ ร้อยละ 80 นอกจากนี้ยังพบปัญหาสำคัญ ดังนี้: การฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝากครรภ์ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่มีอัตราการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ ร้อยละ 8 และการคลอดก่อนกำหนด ร้อยละ 6 ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจากการไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมในระหว่างตั้งครรภ์ แสดงให้เห็นถึงปัญหาที่รุนแรงและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการสร้างความตระหนักรู้ ส่งเสริมการฝากครรภ์คุณภาพ และปรับปรุงการเข้าถึงบริการทางการแพทย์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ เพื่อให้การตั้งครรภ์เป็นไปอย่างปลอดภัย ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพของมารดาและทารก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กตามมาตรฐาน
- เพื่อสร้างความรอบรู้ให้แก่แกนนำสุขภาพและเครือข่ายสุขภาพ ในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงและได้รับการวางแผนครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
- กิจกรรมตรวจคัดกรอง ประเมิน และการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน
- กิจกรรมเคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ และหญิงหลังคลอดในชุมชน
- กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชน
- กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
75
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน
5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด
7. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
0
0
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน
5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด
7. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
0
0
3. กิจกรรมตรวจคัดกรอง ประเมิน และการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน
5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด
7. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
0
0
4. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน
5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด
7. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
30
0
5. กิจกรรมเคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ และหญิงหลังคลอดในชุมชน
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน
5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
6 จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด
7. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
45
0
6. กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชน
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน
5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด
7. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
0
0
7. กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ
วันที่ 31 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน
5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด
6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด
7. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : - รพ.สต. พัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
2
เพื่อสร้างความรอบรู้ให้แก่แกนนำสุขภาพและเครือข่ายสุขภาพ ในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของแกนนำสุขภาพ มีความรอบรู้ด้านอนามัยแม่และเด็ก
3
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
4
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงและได้รับการวางแผนครอบครัว
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 75 ของหญิงหลังคลอดได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
75
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กตามมาตรฐาน (2) เพื่อสร้างความรอบรู้ให้แก่แกนนำสุขภาพและเครือข่ายสุขภาพ ในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงและได้รับการวางแผนครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด (3) กิจกรรมตรวจคัดกรอง ประเมิน และการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง (4) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน (5) กิจกรรมเคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ และหญิงหลังคลอดในชุมชน (6) กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชน (7) กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8429-01-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางชิดชนก พลเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางชิดชนก พลเดช
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8429-01-14 เลขที่ข้อตกลง 007.2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8429-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งในชีวิตของผู้หญิง ซึ่งไม่เพียงเกี่ยวข้องกับสุขภาพของมารดา แต่ยังส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพและพัฒนาการของทารกในครรภ์ การฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทั้งในมารดาและทารก เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และการคลอดก่อนกำหนด จากข้อมูลของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ว่ากระทรวงมหาดไทยร่วมกับคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าหญิงตั้งครรภ์ในบางพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม และไม่ได้เข้ารับบริการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ที่กำหนด ส่งผลให้เกิดอัตราการคลอดที่มีความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพของทารกแรกเกิด เพื่อให้การตั้งครรภ์ดำเนินไปอย่างปลอดภัยและลดความเสี่ยงดังกล่าว การฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพตั้งแต่ระยะแรกเริ่มจนถึงคลอดจึงเป็นสิ่งจำเป็น โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์นี้มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์คุณภาพในกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงให้ความรู้เรื่องโภชนาการ การออกกำลังกายที่เหมาะสม และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ โดยเน้นการสร้างความตระหนักรู้และการสนับสนุนจากครอบครัวและชุมชน ประกอบกับข้อมูลของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ประจำปี2567 พบว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่มีอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ คิดเป็น ร้อยละ 65 ซึ่งยังต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ที่ ร้อยละ 80 นอกจากนี้ยังพบปัญหาสำคัญ ดังนี้: การฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝากครรภ์ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่มีอัตราการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ ร้อยละ 8 และการคลอดก่อนกำหนด ร้อยละ 6 ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจากการไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมในระหว่างตั้งครรภ์ แสดงให้เห็นถึงปัญหาที่รุนแรงและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการสร้างความตระหนักรู้ ส่งเสริมการฝากครรภ์คุณภาพ และปรับปรุงการเข้าถึงบริการทางการแพทย์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ เพื่อให้การตั้งครรภ์เป็นไปอย่างปลอดภัย ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพของมารดาและทารก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กตามมาตรฐาน
- เพื่อสร้างความรอบรู้ให้แก่แกนนำสุขภาพและเครือข่ายสุขภาพ ในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงและได้รับการวางแผนครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
- กิจกรรมตรวจคัดกรอง ประเมิน และการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน
- กิจกรรมเคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ และหญิงหลังคลอดในชุมชน
- กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชน
- กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 75 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ |
||
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน 2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ 2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง 4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน 5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด 6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด 7. สรุปและประเมินผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด |
||
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ
1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน
2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมตรวจคัดกรอง ประเมิน และการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง |
||
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน 2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ 2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง 4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน 5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด 6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด 7. สรุปและประเมินผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน |
||
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน 2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ 2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง 4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน 5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด 6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด 7. สรุปและประเมินผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
|
30 | 0 |
5. กิจกรรมเคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ และหญิงหลังคลอดในชุมชน |
||
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน 2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ 2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง 4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน 5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด 6 จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด 7. สรุปและประเมินผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
|
45 | 0 |
6. กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชน |
||
วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน 2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ 2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง 4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน 5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด 6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด 7. สรุปและประเมินผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
|
0 | 0 |
7. กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ |
||
วันที่ 31 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน 2. จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายโครงการ 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. การสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ 2. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3. การตรวจคัดกรอง ประเมินและการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง 4. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็กในชุมชน 5. เจ้าหน้าที่ร่วมกับทีมแกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่ละเด็ก เคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในชุมชน เพื่อเสริมพลังและวางแผนการทำงานและการช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด 6. จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชนอย่างใกล้ชิด 7. สรุปและประเมินผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ลดอัตราความเสี่ยงทางสุขภาพ และส่งเสริมให้เกิดทารกแรกเกิดที่แข็งแรงและสมบูรณ์
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด : - รพ.สต. พัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน |
|
|||
2 | เพื่อสร้างความรอบรู้ให้แก่แกนนำสุขภาพและเครือข่ายสุขภาพ ในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของแกนนำสุขภาพ มีความรอบรู้ด้านอนามัยแม่และเด็ก |
|
|||
3 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน |
|
|||
4 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงและได้รับการวางแผนครอบครัว ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 75 ของหญิงหลังคลอดได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 75 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนางานและระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กตามมาตรฐาน (2) เพื่อสร้างความรอบรู้ให้แก่แกนนำสุขภาพและเครือข่ายสุขภาพ ในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงและได้รับการวางแผนครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด (3) กิจกรรมตรวจคัดกรอง ประเมิน และการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง (4) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้แกนนำและภาคีเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กในชุมชน (5) กิจกรรมเคาะประตูบ้าน เยี่ยมติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ และหญิงหลังคลอดในชุมชน (6) กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อให้คำปรึกษา ดูแลช่วยเหลือและติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดในชุมชน (7) กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์คุณภาพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L8429-01-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางชิดชนก พลเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......