กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังสตรีห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสกาวเดือน ขาวล้วน




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสตรีห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68 – L8429 -01 - 16 เลขที่ข้อตกลง 008.2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังสตรีห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังสตรีห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังสตรีห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68 – L8429 -01 - 16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทุกประเทศทั่วโลก ในปัจจุบันการควบคุมโรคมะเร็งมีเป้าหมาย เพื่อลดอุบัติการณ์ของการเกิดความทุกข์ทรมานและการตายจากโรคมะเร็ง โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกทั้งหมดในโลก จะมีสตรีที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกมากกว่า 300,000 รายต่อปี และมากกว่าร้อยละ 80 จะอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนาเนื่องจากยังไม่มีโปรแกรมการตรวจคัดกรอง(Screening program) ที่มีประสิทธิผลดีพอในการตรวจหารอยโรคในระยะก่อนเป็นมะเร็ง(Pre – cancerous lesions)และให้การรักษาก่อนที่จะกลายเป็นระยะลุกลาม(Invasive cancer) องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าจะเพิ่มเป็น16 ล้านคน ในปี 2566 ซึ่งปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยและมีแนวโน้มที่ ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย จากรายงานสถิติโรคมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 9 ล้านคนในทุกทุกปี และพบว่าในเพศหญิงมีจำนวนผู้ป่วยมะเร็งที่พบใหม่ 30,940 ราย พบมากที่สุดอายุระหว่างอายุ 45 - 50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนานมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยใหม่และผู้ป่วยเก่าที่ต้องติดตามดูแลให้การรักษาไม่น้อยกว่า 60,000 คนทั่วประเทศ
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออกร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหินได้จัดทำโครงการสตรีบ่อหินร่วมกันคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกขึ้นซึ่งจากบริบทของพื้นที่ความรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออกสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความยากลำบากในการเดินทางมารับบริการ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออกจึงได้มีการให้บริการเชิงรุกในการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว โดยการออกหน่วยบริการเคลื่อนที่การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในหมู่บ้านขึ้นเพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีทักษะสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ซึ่งจะช่วยทำให้ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้นและได้รับการรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ จะส่งผลให้ลดอัตราตายจากมะเร็งปากมดลูกได้ หากพบมีอาการผิดปกติสามารถส่งตัวเข้ารับการรักษาได้ทันท่วงทีโดยมีแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นที่ปรึกษาในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำสตรีในการดูแลสุขภาพและการเฝ้าระวังป้องกันโรค
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและและคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. เพื่อให้สตรีที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มแกนนำสตรี อายุ 30 - 60 ปี
  2. กิจกรรมออกหน่วยพื้นที่ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แกนนำสตรีอายุ 30 - 60 ปี จำนวน 100 คน ที่ผ่านการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สามารถใช้ศักยภาพในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดอัตราการเกิดโรคและสามารถถ่ายทอดความรู้ ให้คำแนะนำแก่กลุ่มสตรีเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง อันจะทำให้ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น 3.สตรีอายุ 30 - 60 ปีที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมพบภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อรับการรักษาที่โรงพยาบาลได้อย่างทันท่วงทีทุกคน อันจะทำให้ลดโอกาสการตาย ช่วยให้มีชีวิตยืนยาวขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มแกนนำสตรี อายุ 30 - 60 ปี

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจและจัดทำทะเบียนรายชื่อประชาชนหญิง อายุ 30 - 60 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก
  2. สำรวจและจัดหาแกนนำสตรีในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่่ออก
  3. จัดเตรียมสถานที่สำหรับการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  4. จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรี ในการดูแลสุขภาพและการเฝ้าระวังป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก
  5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน
  6. ออกหน่วยรณรงค์ตรวจค้นหาคัดกรองค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ในกลุ่มเป้าหมาย (อายุ 30 -60 ปี) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก
  7. ติดตามผลและแจ้งผลความผิดปกติให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
  8. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการและรายงานผลกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำสตรีอายุ 30 - 60 ปี จำนวน 100 คน ที่ผ่านการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สามารถใช้ศักยภาพในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดอัตราการเกิดโรคและสามารถถ่ายทอดความรู้ ให้คำแนะนำแก่กลุ่มสตรีเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง อันจะทำให้ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น
  3. สตรีอายุ 30 - 60 ปี ที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมพบผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่โรงพยาบาลได้อย่างทันท่วงที อันจะทำให้ลดโอกาสการตายช่วยให้มีชีวิตยืนยาวขึ้น

 

30 0

2. กิจกรรมออกหน่วยพื้นที่ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจและจัดทำทะเบียนรายชื่อประชาชนหญิง อายุ 30 - 60 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก
  2. สำรวจและจัดหาแกนนำสตรีในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก
  3. จัดเตรียมสถานที่สำหรับการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  4. จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรี ในการดูแลสุขภาพและการเฝ้าระวังป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก
  5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน
  6. ออกหน่วยรณรงค์ตรวจค้นหาคัดกรองค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย (อายุ 30 - 60 ปี) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก
  7. ติดตามผลและแจ้งผลความผิดปกติให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
  8. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการและรายงานผลกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำสตรีอายุ 30 - 60 ปี จำนวน 100 คน ที่ผ่านการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สามารถใช้ศักยภาพในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดอัตราการเกิดโรคและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้คำแนะนำแก่กลุ่มสตรีเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง อันจะทำให้ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมส่งผลให้มีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น
  3. สตรีอายุ 30 - 60 ปี ที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมพบผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่โรงพยาบาลได้อย่างทันท่วงทีทุกคน อันจะทำให้ลดโอกาสการตายช่วยให้มีชีวิตยืนยาวขึ้น

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำสตรีในการดูแลสุขภาพและการเฝ้าระวังป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 แกนนำสตรีได้รับการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาศักยภาพ เรื่องการดูแลสุขภาพและการเฝ้าระวังป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและและคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของประชาชนหญิง อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก

 

3 เพื่อให้สตรีที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของสตรีที่มีผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และคัดกรองเต้านมผิดปกติ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำสตรีในการดูแลสุขภาพและการเฝ้าระวังป้องกันโรค (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและและคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (3) เพื่อให้สตรีที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มแกนนำสตรี อายุ 30 - 60 ปี (2) กิจกรรมออกหน่วยพื้นที่ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังสตรีห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68 – L8429 -01 - 16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสกาวเดือน ขาวล้วน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด