โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวระเบียบ มั่นซิ้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา)
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L8429 – 02 – 10 เลขที่ข้อตกลง 009.2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68 – L8429 – 02 – 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาการเกิดโรคติดต่อในชุมชนเกิดจากหลายปัจจัยเป็นตัวกำหนด ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ทำให้สุขภาพและความเป็นอยู่ดีขึ้น สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งกายภาพและสังคม หากขาดการใส่ใจ การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย น้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและ การกำจัดขยะ รวมทั้งการกำจัดสัตว์หรือแมลงนำโรค เป็นต้น การละเลยการสร้างสุขนิสัยของตนเอง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว โรคเหล่านี้เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และปรับปรุงพฤติกรรมอนามัยของตนเองให้ถูกต้อง
อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน หมู่ที่ 4 เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านไร่ออก และองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ได้เห็นถึงความสำคัญของการควบคุมโรค ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุก โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นพร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้ให้แก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบปัญหาโรคไข้เลือดออกและแหล่งเกิดโรคในพื้นที่
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
- กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในหมู่บ้านหรือชุมชน (HI) มีค่าน้อยกว่า 10 และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะต่างๆ (CI) มีค่าเท่ากับ 0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบปัญหาโรคไข้เลือดออกและแหล่งเกิดโรคในพื้นที่
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
- รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โดยใช้วิธีทางกายภาพและทางเคมี โดยใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำในภาชนะที่ไม่สามารถปิดได้ พร้อมปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
- จัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์กรณีมีผู้ป่วยในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกำจัดยุงตัวแก่ ดำเนินการใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ ใช้โลชั่นกันยุงทาตัวผู้ป่วย ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นกำจัดยุงภายในบ้าน เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- สรุปผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0
0
0
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
- รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โดยใช้วิธีทางกายภาพและทางเคมี โดยใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำในภาชนะที่ไม่สามารถปิดได้ พร้อมปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
- จัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์กรณีมีผู้ป่วยในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกำจัดยุงตัวแก่ ดำเนินการใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ ใช้โลชั่นกันยุงทาตัวผู้ป่วย ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นกำจัดยุงภายในบ้าน เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
- สรุปผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0
0
0
3. กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
- รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โดยใช้วิธีทางกายภาพและทางเคมี โดยใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำในภาชนะที่ไม่สามารถปิดได้ พร้อมปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
- จัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์กรณีมีผู้ป่วยในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกำจัดยุงตัวแก่ ดำเนินการใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ ใช้โลชั่นกันยุงทาตัวผู้ป่วย ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นกำจัดยุงภายในบ้าน เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
- สรุปผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0
261
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้ให้แก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้และความตระหนัก มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง
2
เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของประชาชนในชุมชนมีความสามารถในการลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย และควบคุมและป้องกันโรคไข้ลือดออกได้เป็นอย่างดี
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้ให้แก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบปัญหาโรคไข้เลือดออกและแหล่งเกิดโรคในพื้นที่ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว (3) กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L8429 – 02 – 10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวระเบียบ มั่นซิ้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวระเบียบ มั่นซิ้ว
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L8429 – 02 – 10 เลขที่ข้อตกลง 009.2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68 – L8429 – 02 – 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาการเกิดโรคติดต่อในชุมชนเกิดจากหลายปัจจัยเป็นตัวกำหนด ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ทำให้สุขภาพและความเป็นอยู่ดีขึ้น สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งกายภาพและสังคม หากขาดการใส่ใจ การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย น้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและ การกำจัดขยะ รวมทั้งการกำจัดสัตว์หรือแมลงนำโรค เป็นต้น การละเลยการสร้างสุขนิสัยของตนเอง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว โรคเหล่านี้เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และปรับปรุงพฤติกรรมอนามัยของตนเองให้ถูกต้อง อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน หมู่ที่ 4 เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านไร่ออก และองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ได้เห็นถึงความสำคัญของการควบคุมโรค ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุก โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นพร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้ให้แก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบปัญหาโรคไข้เลือดออกและแหล่งเกิดโรคในพื้นที่
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
- กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในหมู่บ้านหรือชุมชน (HI) มีค่าน้อยกว่า 10 และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะต่างๆ (CI) มีค่าเท่ากับ 0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบปัญหาโรคไข้เลือดออกและแหล่งเกิดโรคในพื้นที่ |
||
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว |
||
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน |
||
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0
|
261 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้ให้แก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้และความตระหนัก มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง |
|
|||
2 | เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของประชาชนในชุมชนมีความสามารถในการลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย และควบคุมและป้องกันโรคไข้ลือดออกได้เป็นอย่างดี |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้ให้แก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบปัญหาโรคไข้เลือดออกและแหล่งเกิดโรคในพื้นที่ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว (3) กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออก (บ้านไสต้นวา) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L8429 – 02 – 10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวระเบียบ มั่นซิ้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......