โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายตระกูล จริงจิตร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L6896 – 02 – 11 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568 – L6896 – 02 – 11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการปัจจุบัน สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) ซึ่งตามคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสถาพัฒนาการเศรษฐกิจและสมคมแห่งชาติ (สศช) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.2566จะมีประชาการสูงขึ้นถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนหลังควนหาญ ตระหนักถึงปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนหลังควนหาญและชุมชนใกล้เคียงในเขตเทศบาลนครตรัง เมื่อประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 95 มีการเจ็บป่วยด้วยโรคหรือปัญหาสุขภาพ ได้แก่ความดันโลหิตสูง โรคข้อไขเสื่อม ผู้พิการและโรคซึมเศร้า ผู้สูงอายุชุมชนหลังควนหาญและชุมชนใกล้เคียง จึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อให้มีสุขภาพดีอย่างใกล้ชิดและทั่วถึง กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนหลังควนหาญ จึงได้จัดทำโครงการ สุขภาพดี วิถีไทย สูงวัย ชุมชนหลังควนหาญ เพื่อให้ผู้สูงอายุ รู้จักการดูแลตัวเอง ด้วย การประทานอาหารอย่างถูกต้อง การออกกำลังกายให้ถูกวิธี มีสุขภาพจิตและอารมย์ที่ดีให้เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ เพื่อป้องการเจ็บป่วย และเพื่อให้ห่างไกลโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและ การจัดการความเครียดที่เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมบรรยายให้ความรู้
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน ๒ กลุ่ม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทานอาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักการรับประทานอาหาร เพื่อป้องกันโรค และลดโรคได้
- ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม รู้จักการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
- ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาพจิตและอารมณ์ดี เพื่อป้องกันโรคซึมเศร้าลงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน ๒ กลุ่ม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทานอาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค
วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ
การออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี
- สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน 2 กลุ่ม
1.2 บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทาน อาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค
- สาธิตการปรุงอาหาร
1.3 บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้าง
สุขภาพจิตที่ดีให้แก่ผู้ร่วมกิจกรรม
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการกิจกรรมบรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ วิธีการออกกำลังกาย และการใช้เวลาในการออกกำลังกาย และการใช้ระยะเวลาในการออกกำลังกายที่เหมาะสม เพื่อห่างไกลโรค ซึ่งการบรรยายมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้รับการฝึกอบรม และวิทยากร มีข้อซักถามและตอบคำถามจากวิทยากร ทำให้มีความรู้หลากหลายมากขึ้น
ดำเนินการจัดกิจกรรม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารอย่างถูกวิธีอย่างไร ให้ห่างไกลโรค และสาธิตการปรุงอาหาร โดยประชาชนที่เข้าร่วมโครงการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการรับประทานอาหาร และปริมาณของการรับประทานอาหารให้พอเหมาะกับวัยของผู้สูงอายุ โดยการบรรยาย และเรียนรู้การปรุงอาหารโดยวิทยากร ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหาร อย่างไรให้ห่างไกลโรค และสาธิตการปั่นน้ำผักและผลไม้ สาธิตการทำยำเพื่อสุขภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
ดำเนินการจัดกิจกรรมบรรยายใหห้ความรู้ เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพจิตที่ดีให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการขจัดความเครียด การทำจิตใจให้แจ่มใส มองโลกในแง่บวก วิธีการสร้างความสุข โดยวิธีการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม และวิทยากร สามารถใช้ชีวิตประจำวันกับเพื่อนได้ อย่างมีความสุข ไม่ทำให้เกิดโรคซึมเศร้าและความเครียด
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและ การจัดการความเครียดที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและการจัดการความเครียดที่เหมาะสม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและ การจัดการความเครียดที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ (2) บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน ๒ กลุ่ม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทานอาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L6896 – 02 – 11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายตระกูล จริงจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายตระกูล จริงจิตร
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L6896 – 02 – 11 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568 – L6896 – 02 – 11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการปัจจุบัน สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) ซึ่งตามคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสถาพัฒนาการเศรษฐกิจและสมคมแห่งชาติ (สศช) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.2566จะมีประชาการสูงขึ้นถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนหลังควนหาญ ตระหนักถึงปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนหลังควนหาญและชุมชนใกล้เคียงในเขตเทศบาลนครตรัง เมื่อประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 95 มีการเจ็บป่วยด้วยโรคหรือปัญหาสุขภาพ ได้แก่ความดันโลหิตสูง โรคข้อไขเสื่อม ผู้พิการและโรคซึมเศร้า ผู้สูงอายุชุมชนหลังควนหาญและชุมชนใกล้เคียง จึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อให้มีสุขภาพดีอย่างใกล้ชิดและทั่วถึง กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนหลังควนหาญ จึงได้จัดทำโครงการ สุขภาพดี วิถีไทย สูงวัย ชุมชนหลังควนหาญ เพื่อให้ผู้สูงอายุ รู้จักการดูแลตัวเอง ด้วย การประทานอาหารอย่างถูกต้อง การออกกำลังกายให้ถูกวิธี มีสุขภาพจิตและอารมย์ที่ดีให้เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ เพื่อป้องการเจ็บป่วย และเพื่อให้ห่างไกลโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและ การจัดการความเครียดที่เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมบรรยายให้ความรู้
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน ๒ กลุ่ม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทานอาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักการรับประทานอาหาร เพื่อป้องกันโรค และลดโรคได้
- ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม รู้จักการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
- ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาพจิตและอารมณ์ดี เพื่อป้องกันโรคซึมเศร้าลงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน ๒ กลุ่ม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทานอาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค |
||
วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ
การออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี
- สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน 2 กลุ่ม
1.2 บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทาน อาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการกิจกรรมบรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ วิธีการออกกำลังกาย และการใช้เวลาในการออกกำลังกาย และการใช้ระยะเวลาในการออกกำลังกายที่เหมาะสม เพื่อห่างไกลโรค ซึ่งการบรรยายมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้รับการฝึกอบรม และวิทยากร มีข้อซักถามและตอบคำถามจากวิทยากร ทำให้มีความรู้หลากหลายมากขึ้น
ดำเนินการจัดกิจกรรม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารอย่างถูกวิธีอย่างไร ให้ห่างไกลโรค และสาธิตการปรุงอาหาร โดยประชาชนที่เข้าร่วมโครงการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการรับประทานอาหาร และปริมาณของการรับประทานอาหารให้พอเหมาะกับวัยของผู้สูงอายุ โดยการบรรยาย และเรียนรู้การปรุงอาหารโดยวิทยากร ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหาร อย่างไรให้ห่างไกลโรค และสาธิตการปั่นน้ำผักและผลไม้ สาธิตการทำยำเพื่อสุขภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและ การจัดการความเครียดที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและการจัดการความเครียดที่เหมาะสม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกายและ การจัดการความเครียดที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ (2) บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุให้ถูกวิธี สาธิตและฝึกปฏิบัติโดยแบ่งกลุ่มจำนวน ๒ กลุ่ม บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการประทานอาหารอย่างถูกวิธี กินอย่างไรให้ห่างไกลโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุขภาพดี วิถีไทย สูงวัยชุมชนหลังควนหาญ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L6896 – 02 – 11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายตระกูล จริงจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......