กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2568
รหัสโครงการ 68-L2540-1-014
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลสุไหงปาดี
วันที่อนุมัติ 25 ธันวาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 37,616.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายฟากีรัน สะแลแม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยในปี 2567 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 58 ราย อัตราป่วยสะสมตั้งวันที่ 1 มกราคม - 11 ธันวาคม 2567 คิดเป็นอัตราป่วย 104.53 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมีการระบาด
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยในปี 2567 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 58 ราย อัตราป่วยสะสมตั้งวันที่ 1 มกราคม - 11 ธันวาคม 2567 คิดเป็นอัตราป่วย 104.53 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมีการระบาดตลอดทุกปีช่วงฤดูฝน และเมื่อเปรียบเทียบอัตราป่วย 5 ปีย้อนหลังสูงขึ้น (ข้อมูลจากสนง.ควบคุมโรคที่ 12 สงขลา) และพบในตำบลปะลุรูมากที่สุดใน 6 ตำบล ของอำเภอสุไหงปาดี ของอำเภอสุไหงปาดี พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 27 ราย อัตราป่วยสะสมตั้งวันที่ 1 มกราคม - 11 ธันวาคม 2567 คิดเป็นอัตราป่วย 48.93 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูลจาก รง.506 รพ.สุไหงปาดี) และแต่เมื่อเปรียบเทียบจากปี พ.ศ. 2566 และ ปี พ.ศ. 2567 อัตราป่วยลดลงของตำปะลุรู คิดเป็นอัตราป่วยจาก 140.58 ต่อประชากรแสนคน คิดเป็นอัตราป่วย 104.53 ต่อประชากรแสนคน
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว จึงจำเป็นต้องดำเนินการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและวิธีการป้องกัน รวมถึงการสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดแหล่เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในชุมชนให้น้อยลง

แหล่เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในชุมชนให้ลดลง (มากกว่าร้อยละ)

70.00 10.00
2 เพื่อหาร้อยละบ้านที่พบลูกน้ำยุงลาย สำรวจชุมชนที่พบลูกน้ำยุงลายประเมินด้วยค่า HI

ร้อยละบ้านและชุมชนที่พบลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI ไม่เกินร้อยละ)

20.00 10.00
3 มีความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

มีความรู้เพิ่มขึ้น (มากกว่าร้อยละ)

70.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 37,616.00 0 0.00
1 - 30 เม.ย. 68 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกโรคแก่อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกและประชาชนในพื้นที่ตำบลปะลุรู 0 19,720.00 -
1 เม.ย. 68 - 15 ก.ย. 68 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ กำจัด แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน 8 วัน โดยยึดหลัก (3 เก็บ 3 โรค เก็บบ้าน เก็บน้ำ เก็บขยะ) 0 17,896.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
  2. ผู้เข้าร่วมโครงมีความรู้เรื่องการสำรวจและการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2567 00:00 น.